โลโก้เว็บไซต์ สารสนเทศสำนักบริหารมัธยมศึกษาตอนปลาย
  PDF

ศูนย์เศรษฐกิจพอเพียง

โรงเรียน : ศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา สพม.ร้อยเอ็ด

ประเภท : โรงเรียนที่จัดกิจกรรมการเรียนรู้ฯ ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

ผลการประเมิน : 0.01

เผยแพร่เมื่อ : 27 ก.ย. 2561 โดย : สุภาพร ดวงพรม จำนวนผู้เข้าชม 41 คน


ชื่อโครงการ/กิจกรรม ศูนย์เศรษฐกิจพอเพียง
ประเภท โรงเรียนที่จัดกิจกรรมการเรียนรู้ฯ ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปีการศึกษา ต่อเนื่อง
มาตรฐาน มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน
     1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน


     3.1 จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงและสามารถนำไปประยุกต็ใช้ในชีวิตได้
     3.5 มีการแลกเปลียนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้
ผู้รับผิดชอบ
ความเป็นมา จากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ  ฉบับที่ 11  ( พ.ศ. 2555- 2559  )  ยังคงอัญเชิญ  ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง   มาเป็นแนวทางปฎิบัติควบคู่ไปกับการพัฒนาแบบูรณาการเป็นองค์รวมที่มีคนเป็นศูนย์กลางพัฒนาอย่างจริงจัง  เพื่อใช้เป็นแนวทางในการขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศให้เกิดความสมดุล  เป็นธรรมและยั่งยืนมุ่งสู่   สังคมอยู่เย็นเป็นสุขร่วมกัน  อันจะเป็นการเสริมสร้างประโยชน์สูงสุดให้แก่ประชาชนโดยถ้วนหน้าสมดังพระราชปณิธานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภาวะการเจริญเติบโตทางด้านเศรษฐกิจของประเทศไทยทำให้การดำรงชีวิตของคน ในสังคมไทยได้นำเอาสิ่งอำนวยความสะดวกในทุกๆด้านเข้ามาใช้ในชีวิตประจำวัน แม้กระทั่ง  สิ่งอุปโภคและบริโภคต่างๆล้วนอำนวยความสะดวกต่อคนไทยในสังคมทั้งสิ้น  ด้วยเหตุผลข้างต้น      ทำให้การใช้ชีวิตของคนไทยที่ผ่านมานั้นถึงแม้จะได้รับความสะดวกสบายในเบื้องต้นแต่สิ่งที่ตามมาโดยไม่รู้ตัวคือการดำรงชีวิตประจำวันที่ฟุ่มเฟือยทำให้คนในสังคมต้องประสบกับปัญหาการดำรงชีวิตตามมา ฉะนั้นสิ่งที่จะสามารถแก้ปัญหาการดำรงชีวิตของคนในสังคมไทย เรื่องการใช้จ่ายฟุ่มเฟือย โดยเฉพาะรายจ่ายในครอบครัวให้มีรายจ่ายน้อยลงได้ คือการดำรงชีวิตอย่างพอเพียงตามแนวพระราชดำริ
ดังนั้นโครงการเศรษฐกิจพอเพียง  จึงเป็นโครงการหนึ่งที่เป็นประโยชน์ต่อนักเรียนโดยตรงเพราะได้ฝึกปฏิบัติจริง  และสามารถนำไปประกอบอาชีพแบบยั่งยืนได้    อันจะเป็นประโยชน์           ต่อครอบครัว  และชุมชน โรงเรียนบ้านป่าบงจึงได้จัดกิจกรรมปลูกพืชผักสวนครัวและผักพื้นบ้าน    การเพาะเห็ดฟาง  การทำไม้กวาดทางมะพร้าว  การทำงานใบตองโดยการจัดทำโครงการนี้ขึ้น
จากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ  ฉบับที่ 11  ( พ.ศ. 2555- 2559  )  ยังคงอัญเชิญ  ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง   มาเป็นแนวทางปฎิบัติควบคู่ไปกับการพัฒนาแบบูรณาการเป็นองค์รวมที่มีคนเป็นศูนย์กลางพัฒนาอย่างจริงจัง  เพื่อใช้เป็นแนวทางในการขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศให้เกิดความสมดุล  เป็นธรรมและยั่งยืนมุ่งสู่   สังคมอยู่เย็นเป็นสุขร่วมกัน  อันจะเป็นการเสริมสร้างประโยชน์สูงสุดให้แก่ประชาชนโดยถ้วนหน้าสมดังพระราชปณิธานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภาวะการเจริญเติบโตทางด้านเศรษฐกิจของประเทศไทยทำให้การดำรงชีวิตของคน ในสังคมไทยได้นำเอาสิ่งอำนวยความสะดวกในทุกๆด้านเข้ามาใช้ในชีวิตประจำวัน แม้กระทั่ง  สิ่งอุปโภคและบริโภคต่างๆล้วนอำนวยความสะดวกต่อคนไทยในสังคมทั้งสิ้น  ด้วยเหตุผลข้างต้น      ทำให้การใช้ชีวิตของคนไทยที่ผ่านมานั้นถึงแม้จะได้รับความสะดวกสบายในเบื้องต้นแต่สิ่งที่ตามมาโดยไม่รู้ตัวคือการดำรงชีวิตประจำวันที่ฟุ่มเฟือยทำให้คนในสังคมต้องประสบกับปัญหาการดำรงชีวิตตามมา ฉะนั้นสิ่งที่จะสามารถแก้ปัญหาการดำรงชีวิตของคนในสังคมไทย เรื่องการใช้จ่ายฟุ่มเฟือย โดยเฉพาะรายจ่ายในครอบครัวให้มีรายจ่ายน้อยลงได้ คือการดำรงชีวิตอย่างพอเพียงตามแนวพระราชดำริ
ดังนั้นโครงการเศรษฐกิจพอเพียง  จึงเป็นโครงการหนึ่งที่เป็นประโยชน์ต่อนักเรียนโดยตรงเพราะได้ฝึกปฏิบัติจริง  และสามารถนำไปประกอบอาชีพแบบยั่งยืนได้    อันจะเป็นประโยชน์  ต่อครอบครัว  และชุมชน โรงเรียนบ้านป่าบงจึงได้จัดกิจกรรมปลูกพืชผักสวนครัวและผักพื้นบ้าน    การเพาะเห็ดฟาง  การทำไม้กวาดทางมะพร้าว  การทำงานใบตองโดยการจัดทำโครงการนี้ขึ้น

 
วัตถุประสงค์ 1  เพื่อต้องการศึกษากระบวนการพัฒนาตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
2  เพื่อฝึกทักษะอาชีพและมีรายได้ระหว่างเรียน
3   เพื่อให้นักเรียน รู้จักการใช้ชีวิตที่พอเพียงมีความรู้ความสามารถในกิจกรรมที่ตนเองสนใจ

 
เป้าหมาย 1  ด้านคุณภาพ (Quality)
1.1 นักเรียนรู้จักการใช้ชีวิตที่พอเพียง  นำหลักการไปปฏิบัติสามารถลดรายจ่ายในครัวเรือน
ได้รับการฝึกทักษะอาชีพและกล้าแสดงออก
2  ด้านปริมาณ (Quantity)
2.1        บุคลากรในโรงเรียนทุกคน  มีความรู้ความสามารถในการใช้ชีวิตอย่างพอเพียงนักเรียนทุกคนกล้าแสดงออก  ตลอดจนได้ฝึกทักษะอาชีพและมีรายได้ระหว่างเรียน

 
ระยะเวลา 14 ก.ย. 2561 - 14 ก.ย. 2561
สถานที่ดำเนินการ โรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พํมนาวิทยา
ตัวชี้วัด 1.ด้านปริมาณ
1.1 นักเรียนสามารถนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้ในการดำเนินชีวิตร้อยละ 80
1.2 ครูในกลุ่มสาระการเรียนรู้ทั้ง 8   กลุ่มสาระนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอน  ร้อยละ 80
1.3 ฝ่ายบริหารนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในการบริหารงาน ร้อยละ 80
   2. ด้านคุณภาพ
โรงเรียนนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาบูรณาการในการบริหารจัดการ การเรียนการสอนและใช้ในการดำเนินชีวิตของนักเรียน ครูและผู้บริหารได้อย่างยั่งยืน
 
ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1 นักเรียนได้ฝึกทักษะอาชีพและมีรายได้ระหว่างเรียน
2 นักเรียนมีความสามารถในการปฏิบัติงานอาชีพ

 
 
สรุปคะแนนประเมิน 0.01
ไฟล์ประกอบ เศรษฐกิจ61.docx
ขั้นเตรียมการ

    1. ประชุมคณะครูปรึกษาหารือ

     2.  แต่งตั้งผู้รับผิดชอบ
     3. เสนอกรรมการสถานศึกษาเห็นชอบและเสนอแนะ

 
ขั้นดำเนินการ               1. แบ่งกลุ่มการจัดเตรียมดินเพื่อเพาะปลูก
              2. เตรียมพันธุ์พืช
              3. ลงมือปฏิบัติ
              4. การเก็บเกี่ยวผลผลิตพร้อมทั้งจำหน่าย

 
ขั้นตรวจสอบประเมินผล ประเมินผลเมื่อสิ้นสุดกิจกรรม
 
ขั้นสรุปและรายงาน 1.  สรุปวิเคราะห์รายงานผล
2.นำเสนอคณะกรรมการสถานศึกษา  คณะครูวิเคราะห์ 
วิพากย์ให้ข้อเสนอแนะ
งบประมาณ ประมาณการค่าใช้จ่าย
กิจกรรมและงบประมาณ งบประมาณ ลักษณะงบประมาณที่ใช้ สถานที่
ค่าตอบแทน ค่าใช้สอย ค่าวัสดุ อื่นๆ
กิจกรรมที่ 1  ปลูกผักสวนครัว
กิจกรรมที่ 2  เพาะเห็ดฟาง
กิจกรรมที่ 3  ปลูกสมุนไพร
1,000

1,000
500

 
-
-


 
-
-
-

 
   1,000

1,000
500

 
  รร.ศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา
รวมงบประมาณ 5,000     5,000    
การบรรลุตัวชี้วัด
    1. นักเรียนได้ฝึกทักษะอาชีพและมีรายได้ระหว่างเรียน
    2. นักเรียนมีความสามารถในการปฏิบัติงานอาชีพ
ความพึงพอใจ นักเรียนรู้จักการใช้ชีวิตที่พอเพียง  นำหลักการไปปฏิบัติสามารถลดรายจ่ายในครัวเรือน
ได้รับการฝึกทักษะอาชีพและกล้าแสดงออก

 
ปัญหาและอุปสรรค วัสดุ อุปกรณ์ยังไม่เพียงพอ
ข้อเสนอแนะ ควรมีการดูแลให้มากกว่านี้
รูปภาพประกอบ


ออกแบบและพัฒนาโดย สารสนเทศสำนักบริหารการมัธยมศึกษา SESA 2.0