โลโก้เว็บไซต์ สารสนเทศสำนักบริหารมัธยมศึกษาตอนปลาย
  PDF

โครงการห้องเรียนพิเศษ SME / กิจกรรม ส่งเสริมความเป็นเลิศด้านภาษา ม.5 ปี 2560

โรงเรียน : สุราษฏร์พิทยา สพม.สุราษฎร์ธานี ชุมพร

ประเภท : โรงเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ (Enrichment Science Classroom : ESC)

ผลการประเมิน : 4.2

เผยแพร่เมื่อ : 23 ก.ย. 2561 โดย : วรางคณา หวานจิตต์ จำนวนผู้เข้าชม 16 คน


ชื่อโครงการ/กิจกรรม โครงการห้องเรียนพิเศษ SME / กิจกรรม ส่งเสริมความเป็นเลิศด้านภาษา ม.5 ปี 2560
ประเภท โรงเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ (Enrichment Science Classroom : ESC)
ปีการศึกษา 2560
มาตรฐาน มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน
     1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน
     1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน


ผู้รับผิดชอบ
ความเป็นมา กิจกรรมส่งเสริมทางด้านภาษาอังกฤษเพื่อพัฒนาทักษะฟังพูดอ่านและเขียนทำให้นักเรียนได้รับความรู้ทั้งทางตรงจากในห้องเรียนและนอกห้องเรียนกิจกรรมพัฒนาส่งเสริมศักยภาพของผู้เรียนจะทำให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนสูงขึ้นและผู้เรียนมีเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศดังนั้นการจัดมีกิจกรรมที่ส่งเสริมผู้เรียนให้ได้เรียนกับของเจ้าของภาษาจะเป็นการบูรณาการเรียนรู้
โครงการห้องเรียนพิเศษ SME จึงได้พิจารณาจัดโครงการส่งเสริมศักยภาพด้านภาษาขึ้นเพื่อมุ่งสอดแทรกความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องตามจุดมุ่งหมายสำคัญของโครงการห้องเรียนพิเศษSME คือการส่งเสริมความเป็นเลิศทางภาษาอังกฤษ ให้กับนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการ และเพื่อพัฒนาศักยภาพทางด้านภาษาอังกฤษอย่างต่อเนื่องจำเป็นต้องมีกระบวนการในการเตรียมพร้อม กำกับรวมทั้งควบคุม และตรวจสอบความรู้ ความสามารถและทักษะทางภาษาของนักเรียนอย่างเป็นระบบ ดังนั้นการเพิ่มความเข้มข้นในการเรียนเพื่อเตรียมพร้อมในการสอบแข่งขันและการทดสอบวัดความรู้ทางภาษาจะสร้างความตระหนักให้แก่นักเรียนถึงระดับความรู้ที่มีและช่วยให้นักเรียนพัฒนาตนเองได้อย่างเหมาะสม

 
วัตถุประสงค์ 1. เพื่อจัดค่ายติวภาษาอังกฤษให้แก่นักเรียนระดับชั้น ม.5
2. เพื่อทดสอบทักษะทางภาษาอังกฤษให้กับนักเรียนระดับชั้น ม.5
3. เพื่อประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาอังกฤษของนักเรียนระดับชั้น ม.5

 
เป้าหมาย
​​​​​​1. เป้าหมายเชิงปริมาณ
    1.1 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/9 และ 5/10 ปีการศึกษา 2560 จำนวน 65 คน ได้เข้าร่วมกิจกรรม
    1.2 นักเรียนร้อยละ 90 มีผลการทดสอบความรู้ทางภาษาอังกฤษอยู่ในเกณฑ์ดี
2. เป้าหมายเชิงคุณภาพ
    2.1 ให้นักเรียนได้พัฒนาความรู้ทางด้านภาษาอังกฤษอย่างต่อเนื่อง
 
ระยะเวลา 19 ส.ค. 2560 - 23 ก.ย. 2560
สถานที่ดำเนินการ โรงเรียนสุราษฎร์พิทยา
ตัวชี้วัด
ที่ ตัวชี้วัด เป้าหมาย
(ร้อยละ/จำนวน)
ผลผลิต
(ร้อยละ/จำนวน)
ผลการประเมิน
บรรลุ ไม่บรรลุ
1 ด้านปริมาณ
(ตัวเลข)
1. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/9 และ 5/10 ปีการศึกษา 2560 จำนวน 65 คน เข้าร่วมกิจกรรม 1. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/9 และ 5/10 ปีการศึกษา 2560 ได้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 65 คน  ครบถ้วน ร้อยละ 100 ü  
2 ด้านคุณภาพ
(บรรยาย)
1. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนทั้งหมดได้พัฒนาความรู้อย่างต่อเนื่อง
2. นักเรียนร้อยละ 90 มีผลการทดสอบความรู้ทางภาษาอังกฤษอยู่ในเกณฑ์ดี
1. นักเรียนได้รับการส่งเสริมให้พัฒนาความรู้อย่างต่อเนื่อง ร้อยละ 100
2. ผลการทดสอบความรู้ทางภาษาของนักเรียนในโครงการห้องเรียนพิเศษ SME ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 100
ü

ü
 



 
ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. นักเรียนจะได้รับการพัฒนาทักษะทางภาษา และมีการสอบวัดระดับความรู้อย่างสม่ำเสมอ
2. นักเรียนและผู้ปกครองได้รับทราบถึงระดับความรู้ทางภาษาของนักเรียน
3. นักเรียนสามารถใช้ผลการทดสอบเพื่อศึกษาต่อในระดับสูงขึ้น
4. เป็นการสร้างความตระหนักในการเรียนและกระตุ้นให้นักเรียนพัฒนาตนเองให้เต็มศักยภาพ

 
สรุปคะแนนประเมิน 4.2
ไฟล์ประกอบ
ขั้นเตรียมการ

ที่

กิจกรรมที่จัดขึ้น

ระยะเวลาดำเนินงาน

ผู้รับผิดชอบ

1

ประชุม วางแผน

พ.ค. 2560

คณะกรรมการ SME

2

เขียนโครงการและนำเสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ

มิ.ย. 2560

คณะกรรมการ SME




 
ขั้นดำเนินการ

ที่

กิจกรรมที่จัดขึ้น

ระยะเวลาดำเนินงาน

ผู้รับผิดชอบ

1

ประสานงานกับวิทยากร และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 

ก.ค. 2560

คณะกรรมการ SME

2

ดำเนินกิจกรรมตามโครงการ

ส.ค. 2560

คณะกรรมการ SME

3

ประเมินกิจกรรม สรุปและรายงาน

ต.ค. 2560

คณะกรรมการ SME




 
ขั้นตรวจสอบประเมินผล
ที่ ตัวชี้วัดความสำเร็จ วิธีการประเมิน เครื่องมือที่ใช้
1 ผลการทดสอบ ทดสอบ แบบทดสอบ
2 ความพึงพอใจของนักเรียน/ผู้ปกครอง สัมภาษณ์ – ตอบแบบสอบถาม แบบสอบถาม



 
ขั้นสรุปและรายงาน นักเรียนได้เรียนรู้ภาษาอังกฤษอย่างสนุกสนาน ไม่เบื่อ ช่วยกระตุ้นความสนใจในการเรียนภาษาอังกฤษมากขึ้นและควรดำเนินโครงการนี้อีกในปีงบประมาณต่อไป เพราะ เป็นประโยชน์แก่นักเรียน กระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ มีความกล้าแสดงออกในการใช้ภาษาอังกฤษมากขึ้น

 
งบประมาณ
งบประมาณ
ทั้งหมด
(บาท)
ปีการศึกษา 2560
ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 งบประมาณทั้งปี
ได้รับ
(บาท)
ใช้จริง
(บาท)
ได้รับ
(บาท)
ใช้จริง
(บาท)
เกินกว่างบ
(บาท)
ต่ำกว่างบ
(บาท)
100,000 100,000 100,000 - - - -



 
การบรรลุตัวชี้วัด
ที่ ตัวชี้วัด เป้าหมาย
(ร้อยละ/จำนวน)
ผลผลิต
(ร้อยละ/จำนวน)
ผลการประเมิน
บรรลุ ไม่บรรลุ
1 ด้านปริมาณ
(ตัวเลข)
1. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/9 และ 5/10 ปีการศึกษา 2560 จำนวน 65 คน เข้าร่วมกิจกรรม 1. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/9 และ 5/10 ปีการศึกษา 2560 ได้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 65 คน  ครบถ้วน ร้อยละ 100 ü  
2 ด้านคุณภาพ
(บรรยาย)
1. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนทั้งหมดได้พัฒนาความรู้อย่างต่อเนื่อง
2. นักเรียนร้อยละ 90 มีผลการทดสอบความรู้ทางภาษาอังกฤษอยู่ในเกณฑ์ดี
1. นักเรียนได้รับการส่งเสริมให้พัฒนาความรู้อย่างต่อเนื่อง ร้อยละ 100
2. ผลการทดสอบความรู้ทางภาษาของนักเรียนในโครงการห้องเรียนพิเศษ SME ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 100
ü

ü
 













 
ที่ รายการที่ประเมิน ระดับการประเมิน
ดีมาก
(>90%)
ดี
(75-89%)
พอใช้
(60-74%)
น้อย
(50-59%)
ปรับปรุง
(<50%)
3 ผลการดำเนินงาน
3.1 เป็นไปตามตัวชี้วัด ระดับใด   ü      
3.2 เป็นไปตามวัตถุประสงค์ ระดับใด   ü      
4 ระดับความพึงพอใจของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ü        
5 ภาพรวมของผลการปฏิบัติงานตามงาน/กิจกรรม ü        



                                                 

 
ความพึงพอใจ
รายการประเมิน ระดับคะแนน
ดีมาก
5
ดี
4
พอใช้
3
น้อย
2
ปรับปรุง
1
1. ความเหมาะสมของกิจกรรมและขั้นตอนการดำเนินงาน   ü      
2. ความเหมาะสมของเวลาในการดำเนินกิจกรรม   ü      
3. ความเหมาะสมของงบประมาณ   ü      
4. การได้รับความร่วมมือจากผู้ร่วมงาน/กิจกรรม   ü      
5. การนิเทศ ติดตาม จากฝ่ายบริหาร   ü      
6. การดำเนินงานบรรลุตามวัตถุประสงค์ของกิจกรรม   ü      
7. ผลงานเป็นไปตามนโยบายและมาตรฐานการศึกษา   ü      
8. โดยภาพรวมผลสัมฤทธิ์ของงาน/กิจกรรมอยู่ในระดับใด   ü      
9. ความพึงพอใจของผู้ที่เกี่ยวข้องต่อโครงการนี้ ü        
10. ประสิทธิผล/ประโยชน์ของงาน/กิจกรรมอยู่ในระดับใด ü        
รวม 10 32 0 0 0
ค่าเฉลี่ย 4.2



 
ปัญหาและอุปสรรค 1. สาเหตุที่เป็นปัญหาและอุปสรรคต่อการดำเนินกิจกรรม
    - มีนักเรียนบางส่วนเข้าร่วมกิจกรรมไม่ตรงตามเวลาที่กำหนดไว้ในกำหนดการทำให้ได้รับความรู้ไม่เท่าเทียมกับเพื่อนคนอื่น
2. แนวทางในการแก้ไขปัญหา
    - ระบุและเน้นย้ำให้นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมให้ตรงตามเวลาที่กำหนด

 
ข้อเสนอแนะ 1. การเน้นย้ำเรื่องระยะเวลาในการเข้าร่วมกิจกรรมของนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรม
2. ควรดำเนินการจัดเป็นค่ายกิจกรรมเพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้อย่างเต็มที่และมีส่วนร่วมในการแสดงออกครบทุกคน
รูปภาพประกอบ












ออกแบบและพัฒนาโดย สารสนเทศสำนักบริหารการมัธยมศึกษา SESA 2.0