โลโก้เว็บไซต์ สารสนเทศสำนักบริหารมัธยมศึกษาตอนปลาย
  PDF

โครงการห้องเรียนพิเศษ SME / กิจกรรม พัฒนาคุณภาพนักเรียน SME สู่ความเป็นเลิศด้านวิชาการ ปี 2560

โรงเรียน : สุราษฏร์พิทยา สพม.สุราษฎร์ธานี ชุมพร

ประเภท : โรงเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ (Enrichment Science Classroom : ESC)

ผลการประเมิน : 4.6

เผยแพร่เมื่อ : 23 ก.ย. 2561 โดย : วรางคณา หวานจิตต์ จำนวนผู้เข้าชม 54 คน


ชื่อโครงการ/กิจกรรม โครงการห้องเรียนพิเศษ SME / กิจกรรม พัฒนาคุณภาพนักเรียน SME สู่ความเป็นเลิศด้านวิชาการ ปี 2560
ประเภท โรงเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ (Enrichment Science Classroom : ESC)
ปีการศึกษา 2560
มาตรฐาน มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน
     1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน
     1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน


ผู้รับผิดชอบ
ความเป็นมา
วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์เป็นพื้นฐานที่สำคัญและจำเป็นของการพัฒนาประเทศ การจัดการศึกษาและให้ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์จึงเป็นเครื่องมือในการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของประเทศ ไม่ว่าจะเป็นด้านเศรษฐกิจ สังคม การศึกษา อุตสาหกรรม และด้านเกษตรกรรม  การส่งเสริมความสามารถพิเศษด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เพื่อส่งเสริมศักยภาพของผู้เรียนให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และนโยบายของสำนักงานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ส่งเสริมให้สถานศึกษาในสังกัด จัดกิจกรรมที่เป็นประโยชน์เพื่อพัฒนาคุณภาพนักเรียน SME สู่ความเป็นเลิศด้านวิชาการ ได้จัดให้มีเสริมความรู้แก่นักเรียนในรูปแบบของการติว ซึ่งรวมทั้งสามกลุ่มวิชาหลักของโครงการ คือ วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และภาษาอังกฤษ เพื่อนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ในการทดสอบวัดระดับความรู้ภาษาอังกฤษให้แก่นักเรียนในโครงการ โดยเป็นการทดสอบออนไลน์ ใช้ข้อสอบวัดระดับออนไลน์ ที่ได้รับการออกแบบโดยสำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยอ็อกซ์ฟอร์ด (Oxford University Press) เพื่อนำมาใช้ในการประเมินทักษะและความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษของนักเรียน เพื่อพัฒนาศักยภาพความรู้ด้านภาษาอังกฤษ และยังสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ในการทดสอบโอลิมปิกต่อไป
วัตถุประสงค์ 1. เพื่อส่งเสริมและพัฒนานักเรียนให้มีความรู้และได้พัฒนาอย่างเต็มตามศักยภาพทั้งด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และภาษาอังกฤษ
2. เพื่อวัดระดับทักษะ และศักยภาพทางภาษาอังกฤษที่แท้จริงของนักเรียน ใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาตนเองต่อการประกอบอาชีพในอนาคต และใช้คะแนนจากการทดสอบเพื่อประกอบการสมัครเรียนในระดับต่อไป       
3. เพื่อนำความรู้ที่ได้รับจากการติวไปใช้ในการทดสอบโอลิมปิก

 
เป้าหมาย 1. เป้าหมายเชิงปริมาณ  
    1.1 นักเรียนห้องเรียนพิเศษ SME ชั้น ม.5 และ ม.6  จำนวน 138 คน เข้าร่วมกิจกรรมการสอนเสริมด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และภาษาอังกฤษ
    1.2 นักเรียนห้องเรียนพิเศษ SME ชั้น ม.5 และ ม.6  จำนวน 138 คน เข้าร่วมกิจกรรมทดสอบออนไลน์
2. เป้าหมายเชิงคุณภาพ 
    2.1 นักเรียนห้องเรียนพิเศษ SME ชั้น ม.5 และ ม.6  ได้รับการส่งเสริมและพัฒนาให้มีความรู้ ความสามารถอย่างเต็มตามศักยภาพทั้งด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และภาษาอังกฤษ
    2.2 นักเรียนห้องเรียนพิเศษ SME ชั้น ม.5 และ ม.6  มีพื้นฐานความรู้ด้านภาษาและทราบระดับความรู้ของตนเอง
ระยะเวลา 1 ต.ค. 2560 - 6 ต.ค. 2560
สถานที่ดำเนินการ ห้องโสตทัศนศึกษา โรงเรียนสุราษฎร์พิทยา
ตัวชี้วัด
ที่ ตัวชี้วัด เป้าหมาย
(ร้อยละ/จำนวน)
ผลผลิต
(ร้อยละ/จำนวน)
ผลการประเมิน
บรรลุ ไม่บรรลุ
1 ด้านปริมาณ
(ตัวเลข)
1. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/9 และ 6/10 ปีการศึกษา 2560 จำนวน 70 คน เข้าร่วมกิจกรรม 1. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/9 และ 6/10 ปีการศึกษา 2560 ได้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 70 คน  ครบถ้วน ร้อยละ 100 ü  
2 ด้านคุณภาพ
(บรรยาย)
1. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนทั้งหมดได้รับการส่งเสริมและพัฒนาให้มีความรู้ความสามารถอย่างเต็มศักยภาพ
2. เพื่อให้นักเรียนทั้งหมดมีพื้นฐานความรู้ด้านภาษาและทราบระดับความรู้ของตนเอง
1. นักเรียนทั้งหมดได้รับการส่งเสริมและพัฒนาให้มีความรู้ความสามารถอย่างเต็มศักยภาพ ร้อยละ 100
2. นักเรียนทั้งหมดมีพื้นฐานความรู้ด้านภาษาและทราบระดับความรู้ของตนเอง
ร้อยละ 100
ü


ü
 



 
ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. นักเรียนมีความตระหนักถึงความสำคัญ มีเจตคติที่ดีต่อการเรียนวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และภาษาอังกฤษ
2. นักเรียนได้รับการส่งเสริมและพัฒนาให้มีความรู้ ความสามารถอย่างเต็มตามศักยภาพทั้งด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และภาษาอังกฤษ นำไปใช้เป็นพื้นฐานในการเรียนรู้ระดับสูงขึ้นใช้ในชีวิตประจำวัน
3. นักเรียนได้รับการพัฒนาทักษะด้านภาษาอังกฤษ อีกทั้งมีทักษะซึ่งพร้อมจะเชื่อมโยงความรู้ประสบการณ์สู่หลักสูตรของโรงเรียน
4. มีเจตคติที่ดีต่อภาษาอังกฤษ อีกทั้งนำไปใช้อย่างถูกต้องและเหมาะสม

 
สรุปคะแนนประเมิน 4.6
ไฟล์ประกอบ
ขั้นเตรียมการ

ที่

กิจกรรมที่จัดขึ้น

ระยะเวลาดำเนินงาน

ผู้รับผิดชอบ

1

ประชุม วางแผน

พ.ค. 2560

คณะกรรมการ SME

2

เขียนโครงการและนำเสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ

พ.ค. 2560

คณะกรรมการ SME


 
ขั้นดำเนินการ

ที่

กิจกรรมที่จัดขึ้น

ระยะเวลาดำเนินงาน

ผู้รับผิดชอบ

1

ประสานงานกับวิทยากร และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 

พ.ค. 2560

คณะกรรมการ SME

2

จัดจ้างครูและวิทยากรพิเศษ เพื่อจัดการสอนเสริมความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และภาษาอังกฤษ

มิ.ย. 2560

คณะกรรมการ SME

3

ดำเนินกิจกรรมทดสอบออนไลน์

ก.ค. 2560

คณะกรรมการ SME

4

ประเมินกิจกรรม สรุปและรายงาน

ก.ย. 2560

คณะกรรมการ SME


 
ขั้นตรวจสอบประเมินผล
ที่ ตัวชี้วัดความสำเร็จ วิธีการประเมิน เครื่องมือ
1 ผลผลิตร้อยละของนักเรียนทั้งหมด ได้รับการพัฒนาและส่งเสริมให้มีความเป็นเลิศตามศักยภาพ สำรวจความคิดเห็น แบบสำรวจความคิดเห็น
2 ระดับคะแนน จัดช่วงลำดับตามคะแนนที่ได้จากการทดสอบ แบบทดสอบออนไลน์และข้อสอบสอบโอลิมปิก
3 รายงานผลการดำเนินงาน ติดตามการดำเนินงาน แบบติดตาม



 
ขั้นสรุปและรายงาน นักเรียนได้รับความรู้ในวิชาคณิตศาสตร์ วิชาเคมี วิชาฟิสิกส์ และชีววิทยาอย่างเต็มที่และควรดำเนินโครงการนี้อีกในปีงบประมาณต่อไปเพราะ เป็นประโยชน์แก่นักเรียนและกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ ในรายวิชาที่สำคัญสำหรับตัวนักเรียนเอง

 
งบประมาณ
งบประมาณ
ทั้งหมด
(บาท)
ปีการศึกษา 2560
ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 งบประมาณทั้งปี
ได้รับ
(บาท)
ใช้จริง
(บาท)
ได้รับ
(บาท)
ใช้จริง
(บาท)
เกินกว่างบ
(บาท)
ต่ำกว่างบ
(บาท)
133,820 133,820 133,580 - - - 220


 
การบรรลุตัวชี้วัด
ที่ ตัวชี้วัด เป้าหมาย
(ร้อยละ/จำนวน)
ผลผลิต
(ร้อยละ/จำนวน)
ผลการประเมิน
บรรลุ ไม่บรรลุ
1 ด้านปริมาณ
(ตัวเลข)
1. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/9 และ 6/10 ปีการศึกษา 2560 จำนวน 70 คน เข้าร่วมกิจกรรม 1. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/9 และ 6/10 ปีการศึกษา 2560 ได้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 70 คน  ครบถ้วน ร้อยละ 100 ü  
2 ด้านคุณภาพ
(บรรยาย)
1. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนทั้งหมดได้รับการส่งเสริมและพัฒนาให้มีความรู้ความสามารถอย่างเต็มศักยภาพ
2. เพื่อให้นักเรียนทั้งหมดมีพื้นฐานความรู้ด้านภาษาและทราบระดับความรู้ของตนเอง
1. นักเรียนทั้งหมดได้รับการส่งเสริมและพัฒนาให้มีความรู้ความสามารถอย่างเต็มศักยภาพ ร้อยละ 100
2. นักเรียนทั้งหมดมีพื้นฐานความรู้ด้านภาษาและทราบระดับความรู้ของตนเอง
ร้อยละ 100
ü


ü
 














 
ที่ รายการที่ประเมิน ระดับการประเมิน
ดีมาก
(>90%)
ดี
(75-89%)
พอใช้
(60-74%)
น้อย
(50-59%)
ปรับปรุง
(<50%)
3 ผลการดำเนินงาน
3.1 เป็นไปตามตัวชี้วัด ระดับใด ü        
3.2 เป็นไปตามวัตถุประสงค์ ระดับใด ü        
4 ระดับความพึงพอใจของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ü        
5 ภาพรวมของผลการปฏิบัติงานตามงาน/กิจกรรม ü        





 
ความพึงพอใจ
รายการประเมิน ระดับคะแนน
ดีมาก
5
ดี
4
พอใช้
3
น้อย
2
ปรับปรุง
1
1. ความเหมาะสมของกิจกรรมและขั้นตอนการดำเนินงาน   ü      
2. ความเหมาะสมของเวลาในการดำเนินกิจกรรม ü        
3. ความเหมาะสมของงบประมาณ ü        
4. การได้รับความร่วมมือจากผู้ร่วมงาน/กิจกรรม ü        
5. การนิเทศ ติดตาม จากฝ่ายบริหาร   ü      
6. การดำเนินงานบรรลุตามวัตถุประสงค์ของกิจกรรม ü        
7. ผลงานเป็นไปตามนโยบายและมาตรฐานการศึกษา   ü      
8. โดยภาพรวมผลสัมฤทธิ์ของงาน/กิจกรรมอยู่ในระดับใด   ü      
9. ความพึงพอใจของผู้ที่เกี่ยวข้องต่อโครงการนี้ ü        
10. ประสิทธิผล/ประโยชน์ของงาน/กิจกรรมอยู่ในระดับใด ü        
รวม 30 16 0 0 0
ค่าเฉลี่ย 4.6


 
ปัญหาและอุปสรรค 1. สาเหตุที่เป็นปัญหาและอุปสรรคต่อการดำเนินกิจกรรม
    - รถที่ใช้ในการไปรับวิทยากรที่สนามบินไม่พร้อมใช้งานทำให้ไปรับวิทยากรช้ากว่ากำหนด
2. แนวทางในการแก้ไขปัญหา
    - ทางคณะครูและบุคลากรได้ดำเนินการไปรับวิทยากรที่สนามบินแทน

 
ข้อเสนอแนะ ควรดำเนินการจัดเป็นค่ายกิจกรรมเพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้อย่างเต็มที่และมีส่วนร่วมในการแสดงออกครบทุกคน
 
รูปภาพประกอบ












ออกแบบและพัฒนาโดย สารสนเทศสำนักบริหารการมัธยมศึกษา SESA 2.0