โลโก้เว็บไซต์ สารสนเทศสำนักบริหารมัธยมศึกษาตอนปลาย
  PDF

โครงการห้องเรียนพิเศษ ISME / กิจกรรม Computer/Robot Camp ปี 2560

โรงเรียน : สุราษฏร์พิทยา สพม.สุราษฎร์ธานี ชุมพร

ประเภท : โรงเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ (Enrichment Science Classroom : ESC)

ผลการประเมิน : 4.2

เผยแพร่เมื่อ : 23 ก.ย. 2561 โดย : วรางคณา หวานจิตต์ จำนวนผู้เข้าชม 104 คน


ชื่อโครงการ/กิจกรรม โครงการห้องเรียนพิเศษ ISME / กิจกรรม Computer/Robot Camp ปี 2560
ประเภท โรงเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ (Enrichment Science Classroom : ESC)
ปีการศึกษา 2560
มาตรฐาน มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน
     1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน
     1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน


ผู้รับผิดชอบ
ความเป็นมา จากกลยุทธ์ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ด้านการเร่งรัดพัฒนาความพร้อมในด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารให้แก่สถานศึกษาและหน่วยงานการศึกษาในสังกัด เพื่อการเรียนรู้   และการบริหารจัดการโดยมีมาตรการให้ความสำคัญต่อการพัฒนาพัฒนานักเรียน ให้มีความรู้และทักษะพื้นฐานในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนด้วยวิธีการที่หลากหลาย รวมทั้งปรับสาระการเรียนรู้คอมพิวเตอร์และมาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้นที่สอดแทรกการใช้ ICT เป็นเครื่องมือการเรียนรู้และแสวงหาความรู้ในทุกกลุ่มสาระ                       
ปัจจุบันหน่วยงานภาครัฐและเอกชนต่างมีความมุ่งมั่นที่จะพัฒนาเยาวชนของประเทศให้มีความรู้ด้วย ICT (Information Communication Technology) ตามกรอบและทิศทางของตามเจตนารมณ์ ในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 นั่นคือ เก่ง ดี และมีความสุข  การแข่งขันหุ่นยนต์เป็นกิจกรรมหนึ่ง ที่จะส่งเสริมเพิ่มพูนความรู้และประสบการณ์ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีให้นักเรียน ได้ขยายขอบเขตความรู้ของตด้านการออกแบบและการสร้างหุ่นยนต์รวมถึงการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ควบคุมหุ่นยนต์  โครงการอบรม Computer/Robot Camp  จัดขึ้น เพื่อส่งเสริมและกระตุ้นให้นักเรียนได้มีโอกาสพัฒนาทักษะการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ และนำมาประยุกต์ใช้งานด้านต่าง ๆ ด้วยตนเอง ถึงแม้ประเทศของเราจะยังไม่สามารถพัฒนาทางด้านหุ่นยนต์ได้ทัดเทียมกับประเทศที่พัฒนาแล้ว แต่ก็เล็งเห็นความสำคัญที่จะเผยแพร่ พัฒนาทางด้านการประดิษฐ์และเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ควบคุมหุ่นยนต์ แม้ว่าจะเป็นเพียงจุดเริ่มต้นแต่ต้องมีการพัฒนาให้สูงขึ้นได้อย่างแน่นอน โครงการห้องเรียนพิเศษ ISME โรงเรียนสุราษฎร์พิทยา ได้ตระหนักถึงเรื่องดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการขึ้นมา ในปีการศึกษา 2560 นี้

 
วัตถุประสงค์ 1. เพื่อสร้างโอกาสการเรียนรู้ด้านเทคโนโลยี การประดิษฐ์และการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ควบคุมหุ่นยนต์ให้กับนักเรียน สามารถพัฒนาตามธรรมชาติและศักยภาพได้
2. เพื่อให้นักเรียนได้มีโอกาสเสริมสร้างเทคนิคการเรียนรู้ด้วยหุ่นยนต์และเปลี่ยนประสบการณ์การเรียนรู้กับวิทยากรที่ให้ความรู้

 
เป้าหมาย
1. เป้าหมายเชิงปริมาณ
    1.1 นักเรียน ม.4  ISME จำนวน 2 ห้องเรียน จำนวน ....72... คน ได้เข้าร่วมปฏิบัติกิจกรรม
2. เป้าหมายเชิงคุณภาพ
    2.1 นักเรียนได้รับการพัฒนาความรู้ ความสามารถ ด้านเทคโนโลยีการประดิษฐ์ และการเขียนโปรแกรมควบคุมหุ่นยนต์ 
    2.2 พัฒนาการเรียนการสอนให้ทันสมัยต่อการเปลี่ยนแปลงด้านเทคโนโลยีหุ่นยนต์
ระยะเวลา 22 ก.ค. 2560 - 23 ก.ค. 2560
สถานที่ดำเนินการ ห้องโสตทัศนศึกษา โรงเรียนสุราษฎร์พิทยา
ตัวชี้วัด
ที่ ตัวชี้วัด เป้าหมาย
(ร้อยละ/จำนวน)
ผลผลิต
(ร้อยละ/จำนวน)
ผลการประเมิน
บรรลุ ไม่บรรลุ
1 ด้านปริมาณ
(ตัวเลข)
1. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/9 และ 4/10 ปีการศึกษา 2560 จำนวน 64 คน เข้าร่วมกิจกรรม 1. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/9 และ 4/10 ปีการศึกษา 2560 ได้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 64 คน  ครบถ้วน ร้อยละ 100
ü
 
2 ด้านคุณภาพ
(บรรยาย)
1. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนทั้งหมดได้พัฒนาความรู้ ความสามารถ ด้านเทคโนโลยีการประดิษฐ์และการเขียนโปรแกรมควบคุมหุ่นยนต์
2. เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนให้ทันสมัยต่อการเปลี่ยนแปลงด้านเทคโนโลยีหุ่นยนต์
1. นักเรียนได้รับการส่งเสริมให้พัฒนาความรู้ความสามารถ ด้านเทคโนโลยีการประดิษฐ์และการเขียนโปรแกรมควบคุมหุ่นยนต์ ร้อยละ 100
2. การเรียนการสอนมีความทันสมัยต่อการเปลี่ยนแปลงด้านเทคโนโลยีหุ่นยนต์ ร้อยละ 100

ü


ü
 
ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. นักเรียนได้รับประสบการณ์ใหม่ ๆ ด้านเทคโนโลยีการประดิษฐ์ และการเขียนโปรแกรมควบคุมหุ่นยนต์และสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและศักยภาพ
2. นักเรียนสามารถเขียนโปรแกรมควบคุมหุ่นยนต์ได้ตามโจทย์ที่กำหนด โดยใช้วิธีการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบและมีกระบวนการ และการทำงานระบบกลุ่ม

 
สรุปคะแนนประเมิน 4.2
ไฟล์ประกอบ
ขั้นเตรียมการ

ที่

กิจกรรมที่จัดขึ้น

ระยะเวลาดำเนินงาน

ผู้รับผิดชอบ

1

คณะกรรมการ ISME ประชุมการจัดการอบรม

พ.ค.  2560

คณะกรรมการ ISME

2

คณะกรรมการ ISME จัดทำรายละเอียดโครงการและเสนอขออนุมัติดำเนินการ

พ.ค. 2560

คณะกรรมการ ISME
ขั้นดำเนินการ

ที่

กิจกรรมที่จัดขึ้น

ระยะเวลาดำเนินงาน

ผู้รับผิดชอบ

1

จัดทำคำสั่ง,มอบหมายหน้าที่

มิ.ย. 2560

คณะกรรมการ ISME

2

ประชุมคณะกรรมการตามคำสั่งโรงเรียน

มิ.ย. 2560

คณะกรรมการ ISME

3

ประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและจัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ และสื่อต่างๆ

มิ.ย. 2560

คณะกรรมการ ISME

4

ดำเนินการจัดกิจกรรมตามโครงการ

ก.ค. 2560

คณะกรรมการ ISME

5

สรุป - ประเมินผลและรายงานผล

ก.ค. 2560

คณะกรรมการ ISME
ขั้นตรวจสอบประเมินผล
ที่ ตัวชี้วัดความสำเร็จ วิธีการประเมิน เครื่องมือ
1 ความพึงพอใจของครู นักเรียน และผู้ปกครอง ตอบแบบสอบถาม แบบสอบถาม
ขั้นสรุปและรายงาน นักเรียนได้เรียนรู้เทคโนโลยีการประดิษฐ์และการเขียนโปรแกรมควบคุมหุ่นยนต์ นักเรียนสนุกและไม่เบื่อรวมไปถึงทำให้นักเรียนมีทักษะด้านการเขียนโปรแกรมมากขึ้นและควรดำเนินโครงการนี้อีกในปีงบประมาณต่อไป เพราะ เป็นประโยชน์แก่นักเรียน กระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ ด้านเทคโนโลยีที่ทันสมัยมากยิ่งขึ้นในปัจจุบันและอนาคต
 
งบประมาณ
งบประมาณ
ทั้งหมด
(บาท)
ปีการศึกษา 2560
ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 งบประมาณทั้งปี
ได้รับ
(บาท)
ใช้จริง
(บาท)
ได้รับ
(บาท)
ใช้จริง
(บาท)
เกินกว่างบ
(บาท)
ต่ำกว่างบ
(บาท)
130,000 130,000 131,500 - - 1,500 -
การบรรลุตัวชี้วัด  
ที่ ตัวชี้วัด เป้าหมาย
(ร้อยละ/จำนวน)
ผลผลิต
(ร้อยละ/จำนวน)
ผลการประเมิน
บรรลุ ไม่บรรลุ
1 ด้านปริมาณ
(ตัวเลข)
1. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/9 และ 4/10 ปีการศึกษา 2560 จำนวน 64 คน เข้าร่วมกิจกรรม 1. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/9 และ 4/10 ปีการศึกษา 2560 ได้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 64 คน  ครบถ้วน ร้อยละ 100
ü
 
2 ด้านคุณภาพ
(บรรยาย)
1. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนทั้งหมดได้พัฒนาความรู้ ความสามารถ ด้านเทคโนโลยีการประดิษฐ์และการเขียนโปรแกรมควบคุมหุ่นยนต์
2. เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนให้ทันสมัยต่อการเปลี่ยนแปลงด้านเทคโนโลยีหุ่นยนต์
1. นักเรียนได้รับการส่งเสริมให้พัฒนาความรู้ความสามารถ ด้านเทคโนโลยีการประดิษฐ์และการเขียนโปรแกรมควบคุมหุ่นยนต์ ร้อยละ 100
2. การเรียนการสอนมีความทันสมัยต่อการเปลี่ยนแปลงด้านเทคโนโลยีหุ่นยนต์ ร้อยละ 100

ü


ü
 
 














 
ที่ รายการที่ประเมิน ระดับการประเมิน
ดีมาก
(>90%)
ดี
(75-89%)
พอใช้
(60-74%)
น้อย
(50-59%)
ปรับปรุง
(<50%)
3 ผลการดำเนินงาน
3.1 เป็นไปตามตัวชี้วัด ระดับใด   ü      
3.2 เป็นไปตามวัตถุประสงค์ ระดับใด   ü      
4 ระดับความพึงพอใจของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง   ü      
5 ภาพรวมของผลการปฏิบัติงานตามงาน/กิจกรรม   ü      



 
ความพึงพอใจ  
รายการประเมิน ระดับคะแนน
ดีมาก
5
ดี
4
พอใช้
3
น้อย
2
ปรับปรุง
1
1. ความเหมาะสมของกิจกรรมและขั้นตอนการดำเนินงาน   ü      
2. ความเหมาะสมของเวลาในการดำเนินกิจกรรม   ü      
3. ความเหมาะสมของงบประมาณ   ü      
4. การได้รับความร่วมมือจากผู้ร่วมงาน/กิจกรรม   ü      
5. การนิเทศ ติดตาม จากฝ่ายบริหาร   ü      
6. การดำเนินงานบรรลุตามวัตถุประสงค์ของกิจกรรม   ü      
7. ผลงานเป็นไปตามนโยบายและมาตรฐานการศึกษา   ü      
8. โดยภาพรวมผลสัมฤทธิ์ของงาน/กิจกรรมอยู่ในระดับใด   ü      
9. ความพึงพอใจของผู้ที่เกี่ยวข้องต่อโครงการนี้ ü        
10. ประสิทธิผล/ประโยชน์ของงาน/กิจกรรมอยู่ในระดับใด ü        
รวม 10 32 0 0 0
ค่าเฉลี่ย 4.2
ปัญหาและอุปสรรค -
ข้อเสนอแนะ -
รูปภาพประกอบ

ออกแบบและพัฒนาโดย สารสนเทศสำนักบริหารการมัธยมศึกษา SESA 2.0