โลโก้เว็บไซต์ สารสนเทศสำนักบริหารมัธยมศึกษาตอนปลาย
  PDF

โครงการห้องเรียนพิเศษ ISME / กิจกรรม สร้างสัมพันธ์ สานความรู้ สู่ Math and Sci Lab ปี 2560

โรงเรียน : สุราษฏร์พิทยา สพม.สุราษฎร์ธานี ชุมพร

ประเภท : โรงเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ (Enrichment Science Classroom : ESC)

ผลการประเมิน : 4.2

เผยแพร่เมื่อ : 23 ก.ย. 2561 โดย : วรางคณา หวานจิตต์ จำนวนผู้เข้าชม 17 คน


ชื่อโครงการ/กิจกรรม โครงการห้องเรียนพิเศษ ISME / กิจกรรม สร้างสัมพันธ์ สานความรู้ สู่ Math and Sci Lab ปี 2560
ประเภท โรงเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ (Enrichment Science Classroom : ESC)
ปีการศึกษา 2560
มาตรฐาน มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน
     1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน
     1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน


ผู้รับผิดชอบ
ความเป็นมา นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4  ที่เข้ามาเรียนในโครงการห้องเรียนพิเศษ ISME จะต้องมีการปรับตัวทั้งด้านสิ่งแวดล้อมใหม่ เพื่อนใหม่ ครูคนใหม่ สังคมใหม่และการเรียนที่มีเนื้อหาเฉพาะและลึกซึ่งมากกว่ามัธยมศึกษาตอนต้น ซึ่งอาจทําให้นักเรียนรู้สึกสับสน เกิดภาวะเครียด ส่งผลกระทบต่อความสามารถในการเรียนรู้และการใช้ชีวิตประจําวันของนักเรียน ได้รับการเตรียมความพร้อมเพื่อที่จะสามารถศึกษาในชั้นมัธยมศึกษาศึกษาตอนปลายได้อย่างมีคุณภาพ เต็มความสามารถเต็มตามศักยภาพและมีความสุขตลอดระยะเวลาที่ได้รับการศึกษาจากทางโรงเรียน โครงการห้องเรียนพิเศษ ISME  โรงเรียนสุราษฎร์พิทยาจึงได้จัดกิจกรรมสร้างสัมพันธ์ สานความรู้ สู่ Math and Sci Lab ขึ้นมา เพื่อให้นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 สามารถปรับตัวเข้ากับเพื่อนๆ และมีความพร้อมที่จะเข้าสู่แผนการเรียนห้องเรียนพิเศษ ISME ส่งผลให้นักเรียนมีความสุขที่จะเรียนรู้ส่งผลดีต่อการจัดการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
 
วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้นักเรียนที่เข้าเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ปีการศึกษา 2560 ในโครงการห้องเรียนพิเศษ ISME สามารถปรับตัวเข้ากับเพื่อนใหม่ รุ่นพี่ สิ่งแวดล้อม และเรียนรู้ได้อย่างมีคุณภาพและมีความสุข
2. เพื่อพัฒนาบุคลิกภาพของนักเรียนที่เข้าเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ปีการศึกษา 2560 ในโครงการห้องเรียนพิเศษ ISME
3. เพื่อให้นักเรียนที่เข้าเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ปีการศึกษา 2560 ในโครงการห้องเรียนห้องเรียนพิเศษ ISME ได้เตรียมความพร้อมในการปฏิบัติการทางด้านวิทยาศาสตร์

 
เป้าหมาย
1. เป้าหมายเชิงปริมาณ
    1.1 นักเรียนที่เข้าเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ปีการศึกษา 2560 ในโครงการห้องเรียนพิเศษ ISME  ร้อยละ 90 ได้เข้าร่วมกิจกรรม
2. เป้าหมายเชิงคุณภาพ
    2.1 นักเรียนที่เข้าเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ปีการศึกษา 2560 ในโครงการห้องเรียนพิเศษ ISME  สามารถปรับตัวเข้ากับเพื่อนใหม่ และเกิดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพความสุข
    2.2 นักเรียนที่เข้าเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ปีการศึกษา 2560 ในโครงการห้องเรียนพิเศษ ISME  มีความพร้อมในการเรียนแผนการเรียนโครงการห้องเรียนพิเศษ ISME
ระยะเวลา 24 มิ.ย. 2560 - 26 มิ.ย. 2560
สถานที่ดำเนินการ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ จังหวัดนครศรีธรรมราช
ตัวชี้วัด
ที่ ตัวชี้วัด เป้าหมาย
(ร้อยละ/จำนวน)
ผลผลิต
(ร้อยละ/จำนวน)
ผลการประเมิน
บรรลุ ไม่บรรลุ
1 ด้านปริมาณ
(ตัวเลข)
1. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/9 และ 4/10 ปีการศึกษา 2560 จำนวน 64 คน เข้าร่วมกิจกรรม 1. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/9 และ 4/10 ปีการศึกษา 2560 ได้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 64 คน  ครบถ้วน ร้อยละ 100 ü  
2 ด้านคุณภาพ
(บรรยาย)
1. เพื่อให้นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/9 และ 4/10 ปีการศึกษา 2560 จำนวน 64 คน สามารถปรับตัวเข้ากับเพื่อนใหม่ได้
2. เพื่อให้นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/9 และ 4/10 ปีการศึกษา 2560 จำนวน 64 คน มีความพร้อมในการเรียนแผนการเรียนโครงการห้องเรียนพิเศษ ISME
1. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/9 และ 4/10 ปีการศึกษา 2560 จำนวน 64 คน สามารถปรับตัวเข้ากับเพื่อนใหม่ได้ ร้อยละ 100
2. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/9 และ 4/10 ปีการศึกษา 2560 จำนวน 64 คน มีความพร้อมในการเรียนแผนการเรียนโครงการห้องเรียนพิเศษ ISME ร้อยละ 100

ü


ü
 




 
ผลที่คาดว่าจะได้รับ นักเรียนที่เข้าเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ปีการศึกษา 2560 ในโครงการห้องเรียนพิเศษ ISME สามารถปรับตัวเข้ากับเพื่อนใหม่ และมีความพร้อมทางด้านวิทยาศาสตร์เกิดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพความสุข
สรุปคะแนนประเมิน 4.2
ไฟล์ประกอบ
ขั้นเตรียมการ

ที่

กิจกรรมที่จัดขึ้น

ระยะเวลาดำเนินงาน

ผู้รับผิดชอบ

1

ประชุม วางแผน

พ.ค.  2560

คณะกรรมการ ISME

2

เขียนโครงการและนำเสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ

พ.ค. 2560

คณะกรรมการ ISME



 
ขั้นดำเนินการ

ที่

กิจกรรมที่จัดขึ้น

ระยะเวลาดำเนินงาน

ผู้รับผิดชอบ

1

ประสานงานกับวิทยากร และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 

พ.ค. 2560

คณะกรรมการ ISME

2

ดำเนินกิจกรรมตามโครงการ

มิ.ย. 2560

คณะกรรมการ ISME

3

ประเมินกิจกรรม สรุปและรายงาน

มิ.ย. 2560

คณะกรรมการ ISME



 
ขั้นตรวจสอบประเมินผล
ที่ ตัวชี้วัดความสำเร็จ วิธีการประเมิน เครื่องมือ
1 นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจกฎระเบียบของโรงเรียนดีขึ้น ทดสอบความรู้ความเข้าใจ แบบทดสอบ
2 นักเรียนได้รับการพัฒนาบุคลิกภาพ สังเกต แบบสังเกต
3 นักเรียนสามารถปรับตัวเข้ากับเพื่อนใหม่และสิ่งแวดล้อม เกิดเรียนรู้อย่างมีคุณภาพและมีความสุข สอบถาม แบบสอบถาม
4 นักเรียนมีความพึงพอใจในการจัดกิจกรรม ประเมินความพึงพอใจ แบบประเมินความพึงพอใจ


 
ขั้นสรุปและรายงาน เป็นกิจกรรมที่ทำให้นักเรียนสามารถปรับตัวเข้าหาผู้อื่นได้ง่ายและพร้อมที่จะเรียนในโครงการห้องเรียนพิเศษ ISME และควรดำเนินโครงการนี้อีกในปีงบประมาณต่อไป เพราะ เป็นประโยชน์แก่นักเรียน กระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ ด้านเทคโนโลยีที่ทันสมัยมากยิ่งขึ้นในปัจจุบันและอนาคต
งบประมาณ
งบประมาณ
ทั้งหมด
(บาท)
ปีการศึกษา 2560
ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 งบประมาณทั้งปี
ได้รับ
(บาท)
ใช้จริง
(บาท)
ได้รับ
(บาท)
ใช้จริง
(บาท)
เกินกว่างบ
(บาท)
ต่ำกว่างบ
(บาท)
239,600 239,600 190,709.75 - - - 48,981.25
การบรรลุตัวชี้วัด
ที่ ตัวชี้วัด เป้าหมาย
(ร้อยละ/จำนวน)
ผลผลิต
(ร้อยละ/จำนวน)
ผลการประเมิน
บรรลุ ไม่บรรลุ
1 ด้านปริมาณ
(ตัวเลข)
1. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/9 และ 4/10 ปีการศึกษา 2560 จำนวน 64 คน เข้าร่วมกิจกรรม 1. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/9 และ 4/10 ปีการศึกษา 2560 ได้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 64 คน  ครบถ้วน ร้อยละ 100 ü  
2 ด้านคุณภาพ
(บรรยาย)
1. เพื่อให้นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/9 และ 4/10 ปีการศึกษา 2560 จำนวน 64 คน สามารถปรับตัวเข้ากับเพื่อนใหม่ได้
2. เพื่อให้นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/9 และ 4/10 ปีการศึกษา 2560 จำนวน 64 คน มีความพร้อมในการเรียนแผนการเรียนโครงการห้องเรียนพิเศษ ISME
1. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/9 และ 4/10 ปีการศึกษา 2560 จำนวน 64 คน สามารถปรับตัวเข้ากับเพื่อนใหม่ได้ ร้อยละ 100
2. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/9 และ 4/10 ปีการศึกษา 2560 จำนวน 64 คน มีความพร้อมในการเรียนแผนการเรียนโครงการห้องเรียนพิเศษ ISME ร้อยละ 100

ü


ü
 















 
ที่ รายการที่ประเมิน ระดับการประเมิน
ดีมาก
(>90%)
ดี
(75-89%)
พอใช้
(60-74%)
น้อย
(50-59%)
ปรับปรุง
(<50%)
3 ผลการดำเนินงาน
3.1 เป็นไปตามตัวชี้วัด ระดับใด ü        
3.2 เป็นไปตามวัตถุประสงค์ ระดับใด ü        
4 ระดับความพึงพอใจของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ü        
5 ภาพรวมของผลการปฏิบัติงานตามงาน/กิจกรรม ü        







 
ความพึงพอใจ
รายการประเมิน ระดับคะแนน
ดีมาก
5
ดี
4
พอใช้
3
น้อย
2
ปรับปรุง
1
1. ความเหมาะสมของกิจกรรมและขั้นตอนการดำเนินงาน   ü      
2. ความเหมาะสมของเวลาในการดำเนินกิจกรรม   ü      
3. ความเหมาะสมของงบประมาณ   ü      
4. การได้รับความร่วมมือจากผู้ร่วมงาน/กิจกรรม   ü      
5. การนิเทศ ติดตาม จากฝ่ายบริหาร   ü      
6. การดำเนินงานบรรลุตามวัตถุประสงค์ของกิจกรรม   ü      
7. ผลงานเป็นไปตามนโยบายและมาตรฐานการศึกษา   ü      
8. โดยภาพรวมผลสัมฤทธิ์ของงาน/กิจกรรมอยู่ในระดับใด   ü      
9. ความพึงพอใจของผู้ที่เกี่ยวข้องต่อโครงการนี้ ü        
10. ประสิทธิผล/ประโยชน์ของงาน/กิจกรรมอยู่ในระดับใด ü        
รวม 10 32 0 0 0
ค่าเฉลี่ย 4.2


 
ปัญหาและอุปสรรค -
ข้อเสนอแนะ -
รูปภาพประกอบ

ออกแบบและพัฒนาโดย สารสนเทศสำนักบริหารการมัธยมศึกษา SESA 2.0