โลโก้เว็บไซต์ สารสนเทศสำนักบริหารมัธยมศึกษาตอนปลาย
  PDF

พัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

โรงเรียน : สบปราบพิทยาคม สพม.ลำปาง ลำพูน

ประเภท : โรงเรียนมาตรฐานสากล (World-Class Standard School)

ผลการประเมิน : 0.00

เผยแพร่เมื่อ : 29 ต.ค. 2562 โดย : พัชราพร  วรรณารักษ์ จำนวนผู้เข้าชม 194 คน


ชื่อโครงการ/กิจกรรม พัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ประเภท โรงเรียนมาตรฐานสากล (World-Class Standard School)
ปีการศึกษา 2562
มาตรฐาน มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน
     1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน
     1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
     2.1 มีเป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกิจที่สถานศึกษากำหนดขัดเจน
     2.2 มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา
     2.3 ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาและทุกกลุ่มเป้าหมาย
     2.4 พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ
     2.5 จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ
     2.6 จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
     3.1 จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงและสามารถนำไปประยุกต็ใช้ในชีวิตได้
     3.2 ใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้
     3.3 มีการบริหารจัดการชั้นเรียบเชิงบวก
     3.4 ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบและนำผลมาพัฒนาผู้เรียน
     3.5 มีการแลกเปลียนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้
ผู้รับผิดชอบ
ความเป็นมา ตามกระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551 และมีการนำหลักสูตรกลุ่มสาระต่าง ๆ ไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน  ซึ่งครูผู้สอนต้องมีการพัฒนากระบวนการเรียนการสอน  สื่อการสอน  การจัดทำเอกสารวิชาการ  ระบบการวัดผล  ประเมินผลการเรียนและการพัฒนาศักยภาพของนักเรียน  เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายการปฏิรูปการศึกษาที่ให้ใช้วิธีการสอนโดยยึดนักเรียนเป็นสำคัญ งานพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ นับว่ามีความจำเป็นและสำคัญอย่างยิ่งเพราะเป็นกระบวนการที่มุ่งสร้างเสริมผู้เรียนให้มีคุณภาพ  เหมาะสมตามความแตกต่างระหว่างบุคคล เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้สูงขึ้น
 
 
วัตถุประสงค์ 7.1 เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ที่สูงขึ้น
7.2 เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีผลคะแนนการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET)         ในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์สูงขึ้น
 
 
เป้าหมาย เชิงปริมาณ
                   นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ที่สูงขึ้นร้อยละ 80
               -  นักเรียนมีผลคะแนนการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์สูงขึ้นร้อยละ  70
               เชิงคุณภาพ
                   นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ที่สูงขึ้น
               นักเรียนมีผลคะแนนการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์สูงขึ้น
 
ระยะเวลา 1 ต.ค. 2561 - 30 ก.ย. 2562
สถานที่ดำเนินการ โรงเรียนสบปราบพิทยาคม
ตัวชี้วัด เชิงปริมาณ
- นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ที่สูงขึ้นร้อยละ 80
- นักเรียนมีผลคะแนนการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์สูงขึ้นร้อยละ 70
เชิงคุณภาพ
- นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ที่สูงขึ้น
- นักเรียนมีผลคะแนนการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์สูงขึ้น
ผลที่คาดว่าจะได้รับ - นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ที่สูงขึ้น
- นักเรียนมีผลคะแนนการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์สูงขึ้น
สรุปคะแนนประเมิน 0.00
ไฟล์ประกอบ
ขั้นเตรียมการ วางแผนการจัดกิจกรรมการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ขั้นดำเนินการ

จัดซื้อ  วัสดุ อุปกรณ์ และสารเคมี
จัดกิจกรรมตามโครงการ

    -  การอบรมของคณะครูและการแข่งขันกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียน      

   -  กิจกรรมวันวิทยาศาสตร์

ขั้นตรวจสอบประเมินผล ประเมินผล 
ขั้นสรุปและรายงาน ทำรูปเล่มสรุปผล
งบประมาณ 25,000
การบรรลุตัวชี้วัด เชิงปริมาณ
                   นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ที่สูงขึ้นร้อยละ 80
               -  นักเรียนมีผลคะแนนการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์สูงขึ้นร้อยละ  70
               เชิงคุณภาพ
                   นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ที่สูงขึ้น
               นักเรียนมีผลคะแนนการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์สูงขึ้น
ความพึงพอใจ
ปัญหาและอุปสรรค
ข้อเสนอแนะ
รูปภาพประกอบ

ออกแบบและพัฒนาโดย สารสนเทศสำนักบริหารการมัธยมศึกษา SESA 2.0