โลโก้เว็บไซต์ สารสนเทศสำนักบริหารมัธยมศึกษาตอนปลาย
  PDF

ส่งเสริมพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระฯ : คณิตศาสตร์

โรงเรียน : ปะเหลียนผดุงศิษย์ สพม.ตรัง กระบี่

ประเภท : โรงเรียนในฝัน (Lab School)

ผลการประเมิน : 0.00

เผยแพร่เมื่อ : 31 ก.ค. 2563 โดย : เครือวัลย์ เอกอุดมพงษ์ จำนวนผู้เข้าชม 40 คน


ชื่อโครงการ/กิจกรรม ส่งเสริมพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระฯ : คณิตศาสตร์
ประเภท โรงเรียนในฝัน (Lab School)
ปีการศึกษา 2563
มาตรฐาน มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน
     1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน
     1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน


     3.1 จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงและสามารถนำไปประยุกต็ใช้ในชีวิตได้
     3.2 ใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้
     3.3 มีการบริหารจัดการชั้นเรียบเชิงบวก
     3.4 ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบและนำผลมาพัฒนาผู้เรียน
     3.5 มีการแลกเปลียนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้
ผู้รับผิดชอบ
ความเป็นมา การปฏิรูปการศึกษาที่สำคัญยิ่งที่มีผลต่อการพัฒนาคนให้เป็นคนเก่งคนดีได้นั้นหัวใจของการปฏิรูปการศึกษาจะต้องปฏิรูปการเรียนการสอนหรือปฏิรูปการเรียนรู้เป็นอันดับแรกโดยครูจะต้องเลิกการเรียนการสอนที่ยึดครูเป็นศูนย์กลางเปลี่ยนเป็นยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางหรือเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ  แต่ในปัจจุบันการจัดการเรียนการสอนนั้น ครูจะสอนโดยใช้วิธีการบรรยายเป็นส่วนใหญ่ ทำให้เด็กเกิดความเบื่อหน่ายและไม่ให้ความสนใจกับการเรียนเท่าที่ควรทำให้ผลการเรียนตกต่ำและการสอนก็ไม่มีประสิทธิภาพ
          กลุ่มสาระคณิตศาสตร์ได้เห็นถึงความสำคัญของการจัดการเรียนที่หลากหลายจึงมีการจัดโครงการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์เพื่อคุณภาพของนักเรียนที่มุ่งเน้นนักเรียนเป็นสำคัญ บูรณาการรูปแบบและเทคนิคต่างๆในการจัดการเรียนรู้ การผลิตสื่อ การวัดผลประเมินผลตามสภาพจริง เพื่อพัฒนานักเรียนอย่างจริงจัง และเพื่อยกระดับคุณภาพของ ครู และนักเรียนให้มีคุณภาพและประสิทธิภาพสูงขึ้น
 
วัตถุประสงค์ 1.  เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ให้สูงขึ้น
         2.  เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและพัฒนาผู้เรียนให้มีศักยภาพ  ทักษะ  และความสามารถด้านคณิตศาสตร์
         3.  เพื่อให้นักเรียนมีทักษะในการทำงาน  รักการเรียนรู้  คิดวิเคราะห์  และแสวงหาความรู้ได้ด้วย
             ตนเองและมีเจตคติที่ดีต่อวิชาคณิตศาสตร์
เป้าหมาย 1. เป้าหมายเชิงปริมาณ 
1.  นักเรียนโรงเรียนปะเหลียนผดุงศิษย์ร้อยละ  100 เข้าร่วมกิจกรรมของกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์และใช้สื่อการเรียนการสอน
2.  นักเรียนร้อยละ  90มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์สูงขึ้น

2. เป้าหมายเชิงคุณภาพ 
1.  นักเรียนมีลักษณะเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้  และตระหนักถึงความสำคัญของการเรียน
     คณิตศาสตร์  การนำไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน
ระยะเวลา 29 ส.ค. 2562 - 29 ส.ค. 2563
สถานที่ดำเนินการ โรงเรียนปะเหลียนผดุงศิษย์
ตัวชี้วัด
1.  นักเรียนร้อยละ  80  เข้าร่วมกิจกรรม
2.  นักเรียนร้อยละ  80  ที่เข้าร่วมกิจกรรมมี

    ความพึงพอใจในการเข้าร่วม
ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1.  นักเรียนโรงเรียนปะเหลียนผดุงศิษย์มีทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์มากขึ้น
2.  นักเรียนโรงเรียนปะเหลียนผดุงศิษย์มีเจตคติที่ดีต่อวิชาคณิตศาสตร์
3.  นักเรียนโรงเรียนปะเหลียนผดุงศิษย์มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์มาขึ้น
4.  นักเรียนโรงเรียนปะเหลียนผดุงศิษย์นำทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ไปใช้ในชีวิตประจำวัน
 
สรุปคะแนนประเมิน 0.00
ไฟล์ประกอบ
ขั้นเตรียมการ 1 ประชุมครูเพื่อปรึกษาหารือชี้แจงโครงการ /
กิจกรรมภายในกลุ่มสาระ
 2   แต่งตั้งคณะทำงาน
 3   เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ
 
ขั้นดำเนินการ
กิจกรรมที่ 1  พัฒนาสื่อการเรียนรู้คณิตศาสตร์
      -  จัดซื้ออุปกรณ์ทางเรขาคณิตศาสตร์สำหรับครู
จำนวน  3  ชุด
      -  คู่มือครูคณิตศาสตร์วิชาพื้นฐานและเพิ่มเติมของ สสวท. ระดับชั้น ม.1 – ม.6  ระดับชั้นละ  2  ชุด
      -  จัดซื้อ จัดทำสื่ออุปกรณ์การเรียนรู้ทางคณิตศาสตร์
กิจกรรมที่ 2  พัฒนาทักษะคณิตศาสตร์
      -   ครูแต่ละระดับชั้นให้นักเรียนท่องสูตรคูณก่อนการสอนในแต่ละคาบ
      -   ให้นักเรียนจับคู่ตั้งคำถามพร้อมบันทึกลงในสมุด
      -   ครูให้นักเรียนทำแบบทดสอบการคิดในใจ
กิจกรรมที่ 3  กิจกรรมเข้าค่ายพัฒนาศักยภาพทักษะคณิตศาสตร์กลุ่มนักเรียนพิเศษ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น (นักเรียนเรียนอ่อนทางด้านคณิตศาสตร์)
กิจกรรมที่ 4  สัปดาห์คณิตศาสตร์
     -   กิจกรรมแข่งขันคิดเลขเร็ว
     -   กิจกรรมแข่งขัน A – Math
     -   กิจกรรมแข่งขันซูโดกุ
     -   กิจกรรมแข่งขันทักษะทางคณิตศาสตร์
     -   กิจกรรมนิทรรศการทางคณิตศาสตร์
ขั้นตรวจสอบประเมินผล ประชุม/นิเทศติดตามการดำเนินการ
ประเมินผลการดำเนินการ
ขั้นสรุปและรายงาน สรุปผล
รายงานผลการดำเนินการ
งบประมาณ ตาราง 1 การใช้จ่ายงบประมาณ
รายการ งบประมาณที่กำหนดไว้ในแผน งบประมาณที่ใช้จ่ายจริง
1.เงินอุดหนุนการศึกษา    
2.เงินรายได้สถานศึกษา    
3.อื่นๆ    
รวม    
คงเหลือ  
การบรรลุตัวชี้วัด 1.ผลสำเร็จตามตัวชี้วัดความสำเร็จ
ตัวชี้วัดความสำเร็จ ร้อยละของผลสำเร็จ
เป้าหมาย ผลการดำเนิน
1.    
2.    
3.    
4.    
2. สรุปผลสำเร็จของโครงการ
    ผลสำเร็จของโครงการโดยรวม                               คิดเป็นร้อยละ ..................
    ระดับความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการโดยรวม      มีค่าเฉลี่ย ..................
                                                                          อยู่ในระดับ ..................
    เกณฑ์การสรุปผลค่าเฉลี่ยของระดับความพึงพอใจ
             ค่าเฉลี่ย ......................... หมายถึง ระดับ ............
             ค่าเฉลี่ย ......................... หมายถึง ระดับ ............
             ค่าเฉลี่ย ......................... หมายถึง ระดับ ............
             ค่าเฉลี่ย ......................... หมายถึง ระดับ ............
             ค่าเฉลี่ย ......................... หมายถึง ระดับ ............
ความพึงพอใจ ตาราง 2 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม/แบบประเมิน
ข้อมูลทั่วไป จำนวน (คน) ร้อยละ
1. เพศ
    1.1 ชาย
    1.2 หญิง

23
22

2
3
รวม 23 22
2. อายุ
    2.1 น้อยกว่า 25 ปี
    2.2 25-35 ปี
    2.3 36-45 ปี
    2.4 มากกว่า 45 ปี

1
2
3
4

3
4
5
5
รวม 23 34
จากตาราง 2 พบว่า ผู้เข้าร่วมโครงการ/กิจกรรม ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงมีจำนวน ............. คน (ร้อยละ …………….) อายุ 25-35 ปี มีจำนวน ............ คน (ร้อยละ .............) รองลงมา 36-45 ปี มีจำนวน ............ คน (ร้อยละ ...............) ฯลฯ ตอนที่ 3 ความพึงพอใจในของผู้เข้าร่วมโครงการ/กิจกรรม
รายการประเมิน S.D. ร้อยละ ระดับความพึงพอใจ
1.
2.
3.
4.
5.
       
รวม        
จากตาราง 3 พบว่า ผู้เข้าร่วมโครงการ/กิจกรรม มีความพึงพอใจในการจัดโครงการในภาพรวม อยู่ในระดับ ................ มีค่าคะแนนเฉลี่ย ................... (ร้อยละ ................) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านหรือราข้อ พบว่า ผู้เข้าร่วมโครงการ/กิจกรรม มีความพึงพอใจในด้าน ................................. หรือ ข้อคำถาม .................. ในระดับ ................ มีค่าคะแนนเฉลี่ย ................... (ร้อยละ ................) ฯลฯ
ปัญหาและอุปสรรค
ข้อเสนอแนะ
รูปภาพประกอบ

ออกแบบและพัฒนาโดย สารสนเทศสำนักบริหารการมัธยมศึกษา SESA 2.0