โลโก้เว็บไซต์ สารสนเทศสำนักบริหารมัธยมศึกษาตอนปลาย
  PDF

ส่งเสริมศักยภาพทางวิทยาศาสตร์

โรงเรียน : แก้งคร้อวิทยา สพม.ชัยภูมิ

ประเภท : โรงเรียนมาตรฐานสากล (World-Class Standard School)

ผลการประเมิน : 0.00

เผยแพร่เมื่อ : 29 ก.ค. 2563 โดย : นายกิตติพศ รบศึก จำนวนผู้เข้าชม 30 คน


ชื่อโครงการ/กิจกรรม ส่งเสริมศักยภาพทางวิทยาศาสตร์
ประเภท โรงเรียนมาตรฐานสากล (World-Class Standard School)
ปีการศึกษา 2561
มาตรฐาน มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน
     1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน


ผู้รับผิดชอบ
ความเป็นมา หลักการและเหตุผล
แนวการจัดการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 ได้กำหนดให้สถานศึกษาต้องยึดหลักการจัดการศึกษาว่า ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้ และพัฒนาตนเองได้ดี และถือว่าผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด การจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตนเองตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพ โครงการส่งเสริมศักยภาพทางวิทยาศาสตร์ เป็นโครงการที่รวบรวมกิจกรรมต่าง ๆ ด้านวิทยาศาสตร์ ที่ส่งเสริมและพัฒนาให้ผู้เรียนมีความเป็นเลิศด้านวิทยาศาสตร์ อีกทั้งเพื่อพัฒนาศักยภาพผู้เรียน ที่มีความถนัดและความสนใจในด้านวิทยาศาสตร์
 
วัตถุประสงค์ หลักการและเหตุผล
แนวการจัดการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 ได้กำหนดให้สถานศึกษาต้องยึดหลักการจัดการศึกษาว่า ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้ และพัฒนาตนเองได้ดี และถือว่าผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด การจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตนเองตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพ โครงการส่งเสริมศักยภาพทางวิทยาศาสตร์ เป็นโครงการที่รวบรวมกิจกรรมต่าง ๆ ด้านวิทยาศาสตร์ ที่ส่งเสริมและพัฒนาให้ผู้เรียนมีความเป็นเลิศด้านวิทยาศาสตร์ อีกทั้งเพื่อพัฒนาศักยภาพผู้เรียน ที่มีความถนัดและความสนใจในด้านวิทยาศาสตร์
 
เป้าหมาย หลักการและเหตุผล
แนวการจัดการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 ได้กำหนดให้สถานศึกษาต้องยึดหลักการจัดการศึกษาว่า ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้ และพัฒนาตนเองได้ดี และถือว่าผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด การจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตนเองตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพ โครงการส่งเสริมศักยภาพทางวิทยาศาสตร์ เป็นโครงการที่รวบรวมกิจกรรมต่าง ๆ ด้านวิทยาศาสตร์ ที่ส่งเสริมและพัฒนาให้ผู้เรียนมีความเป็นเลิศด้านวิทยาศาสตร์ อีกทั้งเพื่อพัฒนาศักยภาพผู้เรียน ที่มีความถนัดและความสนใจในด้านวิทยาศาสตร์
 
ระยะเวลา 1 ต.ค. 2560 - 1 มี.ค. 2561
สถานที่ดำเนินการ สถาบันการศึกษาต่าง ๆ
ตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดความสำเร็จ วิธีการประเมิน เครื่องมือที่ใช้
1. ความพึงพอใจผู้เข้าร่วมกิจกรรม 90 %  ตอบแบบประเมินความพึงพอใจ แบบประเมินความพึงพอใจ
2. จำนวนนักเรียนที่เข้าร่วม 90 %   บัญชีลงเวลา
ผลที่คาดว่าจะได้รับ ผลที่คาดว่าจะได้รับ
นักเรียนห้องพิเศษวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ได้รับการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพศักยภาพทางด้านวิทยาศาสตร์สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ในการศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น


 
สรุปคะแนนประเมิน 0.00
ไฟล์ประกอบ
ขั้นเตรียมการ
ขั้นดำเนินการ
ขั้นตรวจสอบประเมินผล
ขั้นสรุปและรายงาน
งบประมาณ
การบรรลุตัวชี้วัด
ความพึงพอใจ
ปัญหาและอุปสรรค
ข้อเสนอแนะ
รูปภาพประกอบ

ออกแบบและพัฒนาโดย สารสนเทศสำนักบริหารการมัธยมศึกษา SESA 2.0