โลโก้เว็บไซต์ สารสนเทศสำนักบริหารมัธยมศึกษาตอนปลาย
  PDF

โครงการลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้

โรงเรียน : แก้งสนามนางพิทยาคม สพม.นครราชสีมา

ประเภท : โรงเรียนนำร่องโครงการตามนโยบายลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้

ผลการประเมิน : 4.06

เผยแพร่เมื่อ : 19 ก.ย. 2561 โดย : ณัฏฐ์วรินท์ คำสีหา จำนวนผู้เข้าชม 26 คน


ชื่อโครงการ/กิจกรรม โครงการลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
ประเภท โรงเรียนนำร่องโครงการตามนโยบายลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้
ปีการศึกษา 2560
มาตรฐาน มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน
     1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
     2.3 ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาและทุกกลุ่มเป้าหมาย
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
     3.1 จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงและสามารถนำไปประยุกต็ใช้ในชีวิตได้
ผู้รับผิดชอบ
ความเป็นมา ตามที่กระทรวงศึกษาธิการมีนโยบายในการปรับลดเวลาเรียนเพื่อลดระยะเวลาเรียนภาควิชาการลงโดยไม่กระทบเนื้อหาหลักที่ผู้เรียนควรเรียนรู้ และครูปรับการเรียนการสอน การจัดกิจกรรมโดยเพิ่มเวลาและโอกาสให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติจริงโดยให้โรงเรียนเลิกเรียนเวลา 14.30 น. และหลังเวลานั้นให้ผู้เรียนทากิจกรรมสร้างสรรค์ต่าง ๆ นอกห้องเรียนอย่างหลากหลาย เพื่อเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ทุกด้านในรูปแบบกิจกรรมเสริมหลักสูตร โดยเวลาที่โรงเรียนเลิกยังคงเหมือนเดิมตามกำหนดของแต่ละโรงเรียน
ดังนั้น เพื่อให้การขับเคลื่อนนโยบาย “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้สู่การปฏิบัติอย่างมีประสิทธิภาพ โรงเรียนวัดลาดหวายเตรียมนักเรียนให้พร้อมเข้าสู่การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 สอดคล้องกับหลายประเทศที่เป็นผู้นาด้านการศึกษาของโลกที่เห็นพ้องกันกับแนวคิดสำคัญในศตวรรษที่ 21 เรื่องจิตสานึกต่อโลก ความรู้พื้นฐานการประกอบสัมมาอาชีพ ความรู้พื้นฐานด้านพลเมือง สุขภาพ และสิ่งแวดล้อมและทักษะที่จาเป็นในศตวรรษที่ 21 อันได้แก่ ทักษะในการเรียนรู้และนวัตกรรม ทักษะด้านสารสนเทศสื่อและเทคโนโลยี ทักษะการทางาน ทักษะชีวิตที่ใช้ได้จริงกับครอบครัว โรงเรียน ชุมชน รัฐ ประเทศชาติ และทักษะในการแก้ปัญหา ช่วยให้นักเรียนสามารถเรียนรู้ พัฒนาให้มีคุณภาพและมีความสุขในการเรียนรู้อย่างแท้จริง
 
วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้บริหารจัดการเวลาเรียน และกิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” ได้อย่างเหมาะสม ทั้งด้านวิชาการ ด้านปฏิบัติ นักเรียนได้รับการพัฒนาเต็มตามศักยภาพ ตามความสนใจและถนัดของนักเรียนแต่ละบุคคล
2. เพื่อให้นักเรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ พัฒนาตนเองตามความสนใจและความถนัดอย่างเต็มตามศักยภาพ และมีความสุขกับการเรียนรู้
3. เพื่อให้พ่อ แม่ ผู้ปกครอง และผู้เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษามีความพึงพอใจในการจัดการศึกษาของโรงเรียนและมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา

 
เป้าหมาย เชิงปริมาณ มีกิจกรรม “ ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ”
  • กิจกรรมดนตรีไทย
  • กิจกรรมมารยาทงาม
  • กิจกรรมสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์
  • กิจกรรมการเกษตร
  • กิจกรรมเสริมทักษะคณิตศาสตร์
  • กิจกรรมขนมไทย
  • กิจกรรมขนมไทย
  • กิจกรรมกีฬา
  • กิจกรรมบ้านดิน      
  • กิจกรรมหัตถศิลป์
  • กิจกรรมพัฒนาทักษะการอ่าน เขียนภาษาไทย
  • กิจกรรมงานใบตอง
จำนวนนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการ “ ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” จำนวน 74 คน
เชิงคุณภาพ
1. นักเรียนโรงเรียนแก้งสนามนางพิทยาคมมีคุณลักษณะที่กำหนด 4 หมวด ประกอบด้วย กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน(กิจกรรมบังคับตามหลักสูตร) สร้างเสริมสมรรถนะและการเรียนรู้ สร้างเสริมคุณลักษณะและค่านิยม เสริมสร้างทักษะการทำงาน การดำรงชีพและทักษะชีวิต
2. นักเรียนมีความพึงพอใจ ในการเข้าร่วมโครงการ “ ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้”
 
ระยะเวลา 16 พ.ค. 2560 - 16 มิ.ย. 2560
สถานที่ดำเนินการ โรงเรียนแก้งสนามนางพิทยาคม
ตัวชี้วัด
ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. นักเรียน มีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์พัฒนาตนเองตามความสนใจและความถนัดอย่างเต็มตามศักยภาพ และมีความสุขกับการเรียนรู้
2. สถานศึกษามีแผนการจัดการเรียนรู้ ส่งเสริมและพัฒนานักเรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ มีทักษะในการคิดวิเคราะห์ และได้รับการพัฒนาเต็มตามศักยภาพ ตามความสนใจและถนัดของนักเรียนแต่ละบุคคล
3. โรงเรียนแก้งสนามนางพิทยาคมมีการบริหารจัดการเวลาเรียน และจัดกิจกรรม ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ได้อย่างเหมาะสม ทั้งด้านวิชาการ ด้านปฏิบัติ นักเรียนได้รับการพัฒนาเต็มตามศักยภาพตามความสนใจและถนัดของแต่ละบุคคล                     
4.นักเรียน ผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องมีความพึงพอใจ
 
สรุปคะแนนประเมิน 4.06
ไฟล์ประกอบ การรายงานโครงการลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้.docx
ขั้นเตรียมการ 1. ศึกษาวิเคราะห์นโยบาย คู่มือการบริหารจัดการเรียน “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้”และชุดเอกสารกิจกรรม”ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้”
2. กำหนดตัวชี้วัดในการจัดบริหารจัดการเวลาเรียน“ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้”ของโรงเรียน ผู้บริหารสถานศึกษา ครูผู้สอน และนักเรียน อย่างชัดเจน มีความเข้าใจ
3. ศึกษาสภาพความเป็นไปได้หรือต้นทุนที่โรงเรียนมีเพื่อนาไปพัฒนาโครงการ “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้”
4 .จัดทำแผนงานดาเนินโครงการ “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้”
 
ขั้นดำเนินการ 1. ประชุมคณะทางานเพื่อชี้แจงโครงการ“ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้”และมอบหมายภาระงาน
2. ดำเนินงานตามโครงการฯด้วยกิจกรรม“ ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ” แบ่งออกเป็น 4 หมวด
-จัดทำข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับความสนใจ ความถนัด และความต้องการของผู้เรียนเป็นรายบุคคล
-วิเคราะห์โครงสร้างหลักสูตรของสถานศึกษาและนาหลักสูตรไปใช้
-ปรับและออกแบบตารางเรียน เพื่อให้สอดคล้องกับโครงการ “ ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ”
-ออกแบบกิจกรรมให้สอดคล้องกับผู้เรียน ความถนัดและความต้องการของผู้เรียน
3. ประชุมชี้แจงให้คณะกรรมการสถานศึกษาและผู้ปกครองทราบเกี่ยวกับโครงการ
-ดำเนินการจัดการเรียนรู้และจัดกิจกรรม ตามตารางเรียนที่สถานศึกษากำหนด
 
ขั้นตรวจสอบประเมินผล
ที่ ตัวบ่งชี้ความสำเร็จ วิธีวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดประเมิน
1. ร้อยละของนักเรียน มีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์พัฒนาตนเองตามความสนใจและความถนัดอย่างเต็มตามศักยภาพ และมีความสุขกับการเรียนรู้ 1.การสังเกต


2.การสังเกต

3.สัมภาษณ์

4.การสอบถามความพึงพอใจ
 
1.แบบสังเกต


2.แบบสังเกต

3.แบบสัมภาษณ์

4.แบบสอบถามความพึงพอใจ
 
2. ร้อยละของสถานศึกษามีแผนการจัดการเรียนรู้ ส่งเสริมและพัฒนานักเรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ มีทักษะในการคิดวิเคราะห์ และได้รับการพัฒนาเต็มตามศักยภาพ ตามความสนใจและถนัดของนักเรียนแต่ละบุคคล
3.  โรงเรียนแก้งสนามนางพิทยาคมมีการบริหารจัดการเวลาเรียน และจัดกิจกรรม ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ได้อย่างเหมาะสม ทั้งด้านวิชาการ ด้านปฏิบัติ นักเรียนได้รับการพัฒนาเต็มตามศักยภาพตามความสนใจและถนัดของแต่ละบุคคล    
4. ร้อยละของนักเรียน ผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องมี
ความพึงพอใจ
ขั้นสรุปและรายงาน ขั้นสรุป
1 . สรุปประเมินโครงการฯ โดยการประชุม เสวนา ทบทวนหลังปฏิบัติงาน นำผลการประเมินไปใช้ในการพัฒนาต่อเนื่อง ทุกสัปดาห์ และนำเสนอ
2 . สรุปผล รายงาน และเผยแพร่ผลการดำเนินการแต่ละกิจกรรม จัดทำรายงาน นำเสนอที่ประชุม ทำรายงานโครงการฯเพื่อนำเสนอสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 31
 
งบประมาณ
ที่มาของงบประมาณ งบจัดสรร
1 / 2560
ลักษณะการใช้จ่าย
งบบุคลากร งบดำเนินการ งบลงทุน
ค่าจ้าง ตอบแทน ใช้สอย วัสดุ ครุภัณฑ์
1.เงินค่าใช้จ่ายรายหัว
2.เงินปัจจัยพื้นฐาน
3.เงินเรียนฟรี 15 ปี
4.เงินรายได้สถานศึกษา
5.เงิน.............................
 5,000
-
-
-
-
-
-
-
-
-
 -
-
-
-
-
 5,000
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
รวม 5,000  - -  5,000 - -
การบรรลุตัวชี้วัด
ความพึงพอใจ       1. นักเรียนมีความพึงพอใจที่มีอิสระในการวางแผนกิจกรรมด้วยตนเอง จึงทำให้นักเรียนมีความตั้งใจทำกิจกรรมให้บรรลุกิจกรรมของตนเอง
      2.  ครูและบุคลากรทางการศึกษา  ได้ให้คำแนะนำ ติดตามผลการทำกิจกรรมของนักเรียนอย่างมีระบบและต่อเนื่อง
      3.  ผู้ปกครอง และชุมชนให้ความร่วมมือกับโรงเรียนในการดำเนินงาน
 
ปัญหาและอุปสรรค
ข้อเสนอแนะ .  บางกิจกรรมนักเรียนคิดไว้แต่ไม่ได้ลงมือปฏิบัติ  เนื่องจากติดปัญหาเรื่องเงินงบประมาณ หรืออาจต้องใช้เวลาในการทำกิจกรรมอย่างต่อเนื่องหลายชั่วโมง
      2. เป็นกิจกรรมที่ดีมากที่นักเรียนได้ฝึกคิดวิเคราะห์และวางแผนร่วมกันอย่างอิสระ
 
รูปภาพประกอบ

ออกแบบและพัฒนาโดย สารสนเทศสำนักบริหารการมัธยมศึกษา SESA 2.0