ชื่อโครงการ/กิจกรรม |
กิจกรรมขับเคลื่อนนโยบาย “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” |
ประเภท |
โรงเรียนนำร่องโครงการตามนโยบายลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ |
ปีการศึกษา |
2558 |
มาตรฐาน |
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน
1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน 1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
2.3 ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาและทุกกลุ่มเป้าหมาย 2.5 จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ
|
ผู้รับผิดชอบ |
|
ความเป็นมา |
|
วัตถุประสงค์ |
๑. เพื่อขับเคลื่อนการนำหลักสูตรสถานศึกษา ไปสู่การปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพตามหลักการของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑๒. เพื่อให้สถานศึกษาสามารถบริหารจัดการหลักสูตรสถานศึกษา ส่งเสริมและพัฒนานักเรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ มีทักษะในการคิดวิเคราะห์ และได้รับการพัฒนาเต็มตามศักยภาพ ตามความสนใจและถนัดของนักเรียนแต่ละบุคคล๓. เพื่อให้สถานศึกษาสามารถการบริหารจัดการเวลาเรียน และจัดกิจกรรม “ลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้” ได้อย่างเหมาะสม ทั้งด้านวิชาการ ด้านปฏิบัติ นักเรียนได้รับการพัฒนาเต็มตามศักยภาพตามความสนใจและถนัดของแต่ละบุคคล
๔. เพื่อให้นักเรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ พัฒนาตนเองตามความสนใจและความถนัดอย่างเต็มตามศักยภาพ และมีความสุขกับการเรียนรู้
๕. เพื่อให้พ่อ แม่ ผู้ปกครอง และผู้เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษามีความพึงพอใจในการจัดการศึกษาของโรงเรียนและมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา |
เป้าหมาย |
|
ระยะเวลา |
12 ก.ย. 2561 - 12 ก.ย. 2561 |
สถานที่ดำเนินการ |
|
ตัวชี้วัด |
1. นักเรียนได้เรียนรู้ และปฏิบัติกิจกรรมสร้างสรรค์ โดยใช้เวลาเรียนทั้งด้านวิชาการ และการปฏิบัติกิจกรรมอย่างเหมาะสมร้อยละ ๙0
๒. นักเรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ มีทักษะชีวิต และมีความสามารถในการเรียนรู้ด้วยตนเองตามความถนัด ความสนใจ ตามศักยภาพของตนเองแต่ละคนร้อยละ ๙0
๓. นักเรียนมีการประเมินตนเอง และนำผลการประเมินไปพัฒนาการเรียนรู้ของตนเองอย่างต่อเนื่องร้อยละ๙0
๔. นักเรียนมีความสุขในการเรียนรู้ มีภาระงาน การบ้าน เหมาะสม และสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดร้อยละ ๙0
๕. นักเรียนมีผลการทดสอบระดับชาติ (O-NET) ผลการทดสอบ PISA และผลการทดสอบคุณภาพการศึกษาต่าง ๆ ผ่านเกณฑ์ที่กำหนด
ร้อยละ 80 |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ |
|
สรุปคะแนนประเมิน |
0.00 |
ไฟล์ประกอบ |
|
ขั้นเตรียมการ |
1. ส่งเสริม สนับสนุน สร้างความเข้าใจในการนำนโยบาย“ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” สู่การปฏิบัติแก่ครูและผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย
2. ปรับโครงสร้างเวลาเรียนของสถานศึกษาและจัดทำตารางเรียนให้เหมาะสมกับการจัดกิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” แต่ละช่วงชั้น
3. เลือกกำหนดกิจกรรมให้ตอบสนองต่อความสนใจ ความถนัดและความต้องการของผู้เรียนอย่างหลากหลาย สอดคล้องกับช่วงวัย และวุฒิภาวะของผู้เรียน 4. จัดระบบข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับกิจกรรม แหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่นตามบริบทของสถานศึกษาและชุมชน 5. ส่งเสริมและสนับสนุนงบประมาณ สื่อการเรียนรู้และสิ่งอำนวยความสะดวกให้เอื้อต่อการจัดกิจกรรมอย่างมีประสิทธิภาพ
6. กำกับ ติดตามการจัดกิจกรรมอย่างเป็นระบบ
7. ใช้การนิเทศภายใน การเสวนาสะท้อนผลหลังการปฏิบัติ (After Action Review : AAR) เป็นเครื่องมือในการศึกษาและพัฒนาประสิทธิภาพกระบวนการและกิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” และเป็นเครื่องมือการพัฒนาบุคลากรอย่างสม่ำเสมอ ต่อเนื่อง 8. ศึกษา วิจัยและพัฒนา “กระบวนการบริหารจัดการเวลาเรียน” อย่างเป็นระบบ |
ขั้นดำเนินการ |
|
ขั้นตรวจสอบประเมินผล |
|
ขั้นสรุปและรายงาน |
|
งบประมาณ |
|
การบรรลุตัวชี้วัด |
|
ความพึงพอใจ |
|
ปัญหาและอุปสรรค |
|
ข้อเสนอแนะ |
|
รูปภาพประกอบ |
|