Loading...

ข้อมูลโครงการพิเศษ

  PDF

โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริสมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี

โรงเรียน : สุรินทร์ภักดี สพม.สุรินทร์

ประเภท : โรงเรียนวิถีพุทธ

ผลการประเมิน : 0.00

เผยแพร่เมื่อ : 13 ก.ย. 2561 โดย : นางพัชรา ศิริเลิศพงศ์พันธุ์ จำนวนผู้เข้าชม 80 คน


ชื่อโครงการ/กิจกรรม โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริสมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี
ประเภท โรงเรียนวิถีพุทธ
ปีการศึกษา 2561
มาตรฐาน

     2.5 จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ

ผู้รับผิดชอบ
ความเป็นมา

1.  หลักการและเหตุผล

พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ  พ.ศ. 2542 กำหนดแนวทางการจัดการศึกษา  โดยยึดหลักที่ว่า ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถพัฒนาตนเองได้  และถือว่าผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด เพื่อพัฒนาคนให้เป็นคนที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย  จิตใจ สติปัญญา ความรู้ คุณธรรมและวัฒนธรรมแห่งความเป็นไปในการเรียนรู้อยู่กับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข

การศึกษาอนุรักษ์พันธุกรรมพืชและความหลากหลายทางชีวภาพเป็นสิ่งสำคัญที่สุดในการพัฒนาประเทศในเจริญก้าวหน้าทุก ๆ ด้านเช่น  การศึกษา เศรษฐกิจ เกษตรกรรม เป็นต้นการสร้างความสามารถดังกล่าวจะต้องเริ่มต้นตั้งแต่ระดับโรงเรียน จนเยาวชนออกไปประกอบอาชีพในอนาคต  การปลูกฝังความเข้าใจและทัศนคติที่ดีต่อการเรียนซึ่งมีความสำคัญ คือ เยาวชนควรประทับใจในการศึกษาหาความรู้ เพื่อให้เกิดความใฝ่รู้และความนิยมเรียนในการเรียนการสอนให้มากขึ้นกว่าปัจจุบันที่เป็นอยู่  การวางรากฐานความคิดที่ดีให้แก่เยาวชน ควรทำอย่างต่อเนื่องซึ่งจะเกิดประโยชน์แก่นักเรียนและเสริมสร้างคุณภาพให้กับการเรียนการสอนยิ่ง ๆ ขึ้นไป

วัตถุประสงค์

2.  วัตถุประสงค์

    2.1  ผลผลิต  (Out puts)

1)  นักเรียนทุกคนได้รับความรู้  ความเข้าใจ และเห็นความสำคัญของพันธุกรรมพืช

2)  นักเรียนได้รับความรู้ความสามารถ ในการคิดวิเคราะห์  คิดสังเคราะห์ มีวิจารณญาณ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์  คิดไต่ตรองได้

2.2  ผลลัพธ์  (Out comes)

1)  ผู้เรียนมีความรู้  ความเข้าใจ และเห็นความสำคัญของพันธุกรรมพืช

 2)  ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถ ในการคิดวิเคราะห์  คิดสังเคราะห์ มีวิจารณญาณ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์  คิดไต่ตรองได้

เป้าหมาย

3.  เป้าหมาย

3.1  นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจ และเห็นความสำคัญของพันธุกรรมพืช

     3.2 นักเรียนมีความรู้ความสามารถ ในการคิดวิเคราะห์  คิดสังเคราะห์ มีวิจารณญาณ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์  คิดไต่ตรองได้

ระยะเวลา 1 ต.ค. 2560 - 30 ก.ย. 2561
สถานที่ดำเนินการ โรงเรียนสุรินทร์ภักดี
ตัวชี้วัด  

ตัวชีวัดความสำเร็จ

1.  โรงเรียนสนองงานโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ  สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี

2.  นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจ และเห็นความสำคัญของพันธุกรรมพืช

3.  นักเรียนมีความรู้  ความสามารถในการคิด วิเคราะห์  คิดสังเคราะห์ มีวิจารณญาณ    มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ คิดไตร่ตรองได้

ผลที่คาดว่าจะได้รับ  

 

1.  โรงเรียนสนองงานโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ  สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี

2.  นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจ และเห็นความสำคัญของพันธุกรรมพืช

3.  นักเรียนมีความรู้  ความสามารถในการคิด วิเคราะห์  คิดสังเคราะห์ มีวิจารณญาณ    มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ คิดไตร่ตรองได้

สรุปคะแนนประเมิน 0.00
ไฟล์ประกอบ
ขั้นเตรียมการ
ขั้นดำเนินการ

4.  กิจกรรมและวิธีการดำเนินงาน

ที่

กิจกรรม

ขั้นตอนการดำเนินงาน

ระยะเวลา

ผู้รับผิดชอบ

1

2

3

4

5

6

7

8

9

 

10

11

12

13

14

 

15

16

17

18

19

20

21

 

22

23

 

24

25

26

27

28

29

30

31

 

32

33

34

35

36

 

37

 

38

 

39

40

 

41

42

 

43

 

44

45

46

47

 

48


 

กิจกรรมกำหนดพื้นที่ศึกษา

กิจกรรมสำรวจพันธุ์ไม้ ในพื้นที่ศึกษา

กิจกรรมจัดทำป้ายรหัสประจำต้น

กิจกรรมตั้งชื่อหรือสอบถามชื่อและศึกษาข้อมูลพื้นที่

กิจกรรม ทำผังแสดงตำแหน่ง พันธุ์ไม้

กิจกรรมศึกษาและบันทึกลักษณะทางพฤกษศาสตร์

กิจกรรมบันทึกหรือวาดภาพ ทางพฤกษศาสตร์

กิจกรรมทำตัวอย่างพรรณไม้(แห้งดองเฉพาะส่วน)

กิจกรรมเปรียบเทียบข้อมูลที่สรุป กับข้อมูลที่สืบค้น จากเอกสารแล้วบันทึกใน ก.7-003 หน้า 9-10

กิจกรรมจัดระบบทะเบียนพรรณไม้

กิจกรรมทำร่างป้ายชื่อพันธุ์ไม้สมบูรณ์

กิจกรรมตรวจความถูกต้องทางวิชาการด้านพฤกษศาสตร์

กิจกรรมป้ายชื่อพรรณไม้สมบูรณ์

กิจกรรมศึกษาข้อมูลจากพันธุ์ไม้เดิมและศึกษาธรรมชาติของพรรณไม้

กิจกรรมศึกษาวิเคราะห์สภาพพื้นที่

กิจกรรมพิจารณาคุณ และสุนทรียภาพของพรรณไม้

กิจกรรมกำหนดการใช้ประโยชน์ในพื้นที่

กิจกรรมทำผังภูมิทัศน์

กิจกรรมจัดหาพันธ์ไม้ วัสดุปลูก

กิจกรรมการปลูกและดูแลรักษา

กิจกรรมศึกษาคุณ ของพืชพรรณที่ปลูกออกแบบบันทึกการเปลี่ยนแปลง

กิจกรรมศึกษาพรรณไม้ในสวน

กิจกรรมพฤกษศาสตร์โรงเรียนครบตามทะเบียนพรรณไม้

 

กิจกรรมศึกษาพันธุ์ไม้ที่สนใจ

กิจกรรมรวบรวมผลการเรียนรู้

กิจกรรมสรุปและเรียบเรียง

กิจกรรมเรียนรู้รูปแบบการเขียน รายงาน

กิจกรรมกำหนดรูปแบบการเขียนรายงาน

กิจกรรมเรียนรู้วิธีการรายงานผล

กิจกรรมกำหนดวิธีการรายงานผล

กิจกรรมนำเสนอพฤกษศาสตร์โรงเรียนบูรณาการสู่การเรียนการสอน

กิจกรรมเผยแพร่ความรู้

กิจกรรมการจัดสร้างแหล่งเรียนรู้

กิจกรรมสัมผัสเรียนรู้วงจรชีวิตของชีวภาพ

กิจกรรมเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงและความแตกต่าง

กิจกรรมรวบรวมองค์ความรู้ที่ได้จากการเรียนรู้ธรรมชาติแห่งชีวิต

กิจกรรมเรียนรู้ธรรมชาติของปัจจัยชีวภาพอื่นที่เข้ามาเกี่ยวข้องกับปัจจัยหลัก

กิจกรรมเรียนรู้ธรรมชาติของปัจจัยกายภาพ (ดิน  น้ำ แสง อากาศ)

กิจกรรมเรียนรู้ธรรมชาติถึงปัจจัยอื่น ๆ

กิจกรรมเรียนรู้ธรรมชาติของความพันเกี่ยวระหว่างปัจจัย

 

กิจกรรมสรุปผลการเรียนรู้  ดุลภาพของการพันเกี่ยว

กิจกรรมเรียนรู้วิเคราะห์ศักยภาพของปัจจัยศึกษา

 

กิจกรรมเรียนรู้จินตนาการ เห็นคุณค่าของศักยภาพของปัจจัยศึกษา

กิจกรรมสรรค์สร้างวิธีการ

กิจกรรมสรุปผลการเรียนรู้ประโยชน์แท้แก่มหาชน

กิจกรรมรายงานผลการดำเนินงานส่ง อพ.สธ.

กิจกรรมอบรมปฏิบัติการสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน

 

กิจกรรมรับการตรวจเยี่ยมและติดตามงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน

-  กำหนดพื้นที่ที่ศึกษา

-  สำรวจพันธุ์ไม้ที่ศึกษา

-  จัดทำป้ายรหัสประจำต้น

-  กำหนดชื่อและศึกษาข้อมูลพื้นที่

-  จัดทำผังแสดงตำแหน่ง พันธุ์ไม้

-  ศึกษาและบันทึกลักษณะทางพฤกษศาสตร์

-  บันทึกหรือวาดภาพ ทางพฤกษศาสตร์

-  ตัวอย่างพรรณไม้(แห้งดองเฉพาะส่วน)

-  เปรียบเทียบข้อมูลที่สรุป กับข้อมูลที่สืบค้น จากเอกสารแล้วบันทึกใน ก.7-003 หน้า 9-10

-  จัดทำระบบทะเบียนพรรณไม้

-  จัดทำร่างป้ายชื่อพันธุ์ไม้สมบูรณ์

-  ตรวจความถูกต้องทางวิชาการด้านพฤกษศาสตร์

-  ป้ายชื่อพรรณไม้สมบูรณ์

-  ศึกษาข้อมูลจากพันธุ์ไม้เดิมและศึกษาธรรมชาติของพรรณไม้

-  ศึกษาวิเคราะห์สภาพพื้นที่

-  พิจารณาคุณ และสุนทรียภาพของพรรณไม้

-  กำหนดการใช้ประโยชน์ในพื้นที่

-  จัดทำผังภูมิทัศน์

-  จัดหาพันธ์ไม้ วัสดุปลูก

-  จัดกิจกรรมการปลูกและดูแลรักษา

-  จัดกิจกรรมศึกษาคุณ ของพืชพรรณที่ปลูกออกแบบบันทึกการเปลี่ยนแปลง

-  จัดกิจกรรมศึกษาพรรณไม้ในสวน

-  จัดทำพฤกษศาสตร์โรงเรียนครบตามทะเบียนพรรณไม้

-  จัดกิจกรรมศึกษาพันธุ์ไม้ที่สนใจ

-  รวบรวมผลการเรียนรู้

-  ทำสรุปและเรียบเรียง

-  จัดกิจกรรมเรียนรู้รูปแบบการเขียน รายงาน

-  จัดทำกำหนดรูปแบบการเขียนรายงาน

-  จัดกิจกรรมเรียนรู้วิธีการรายงานผล

-  กำหนดวิธีการรายงานผล

-  วิธีนำเสนอพฤกษศาสตร์โรงเรียนบูรณาการสู่การเรียนการสอน

-  จัดทำเผยแพร่ความรู้

-  จัดสร้างแหล่งเรียนรู้

-  จัดกิจกรรมสัมผัสเรียนรู้วงจรชีวิตของชีวภาพ

-  เปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงและความแตกต่าง

-  รวบรวมองค์ความรู้ที่ได้จากการเรียนรู้ธรรมชาติแห่งชีวิต

-  จัดกิจกรรมเรียนรู้ธรรมชาติของปัจจัยชีวภาพอื่นที่เข้ามาเกี่ยวข้องกับปัจจัยหลัก

-  จัดกิจกรรมเรียนรู้ธรรมชาติของปัจจัยกายภาพ (ดิน  น้ำ แสง อากาศ)

-  จัดกิจกรรมเรียนรู้ธรรมชาติขิงปัจจัยอื่น ๆ

-  จัดกิจกรรมเรียนรู้ธรรมชาติของความพันเกี่ยวระหว่างปัจจัย

-  สรุปผลการเรียนรู้  ดุลภาพของการพันเกี่ยว

-  จัดกิจกรรมเรียนรู้วิเคราะห์ศักยภาพของปัจจัยศึกษา

-  จัดกิจกรรมเรียนรู้จินตนาการ เห็นคุณค่าของศักยภาพของปัจจัยศึกษา

-  จัดกิจกรรมสรรค์สร้างวิธีการ

-  สรุปผลการเรียนรู้ประโยชน์แท้แก่มหาชน

-   รายงานผลการดำเนินงานส่ง อพ.สธ.

-  จัดกิจกรรมอบรมปฏิบัติการสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน

-  จัดเตรียมรับการตรวจเยี่ยมและติดตามงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน

ต.ค.60-ก.ย.61





























































 

นางลำยอง  พัวประเสริฐ  นางสาวสิริภรณ์  ดีจัด

และคณะ






















 

นางลำยอง  พัวประเสริฐ  นางสาวสิริภรณ์  ดีจัด และคณะ


































 
ขั้นตรวจสอบประเมินผล

6.  การประเมินผล

ตัวชีวัดความสำเร็จ

วิธีการวัดและประเมินผล

เครื่องมือที่ใช้ประเมิน

1.  โรงเรียนสนองงานโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ  สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี

2.  นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจ และเห็นความสำคัญของพันธุกรรมพืช

3.  นักเรียนมีความรู้  ความสามารถในการคิด วิเคราะห์  คิดสังเคราะห์ มีวิจารณญาณ    มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ คิดไตร่ตรองได้

 

ประเมินโครงการ

 

ประเมินโครงการ

 

แบบประเมิน

 

แบบประเมิน

ขั้นสรุปและรายงาน
งบประมาณ

5.  งบประมาณที่ใช้

5.1  เงินงบประมาณ  จากงบแผนการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน  จำนวน 15,070 บาท

5.2  เงินนอกงบประมาณ      -        บาท

รวมงบประมาณทั้งสิ้น    15,070   บาท

รายการ/กิจกรรม/

คำชี้แจงในการใช้งบประมาณ

งบประมาณ

นอกงบประมาณ

รวม

ไตรมาสที่ใช้

1.  กิจกรรมกำหนดพื้นที่ศึกษา

2.  กิจกรรมสำรวจพันธุ์ไม้ ในพื้นที่ศึกษา

3.  กิจกรรมจัดทำป้ายรหัสประจำต้น

4.  กิจกรรมตั้งชื่อหรือสอบถามชื่อและศึกษาข้อมูลพื้นที่

5.  กิจกรรม ทำผังแสดงตำแหน่ง พันธุ์ไม้

   - ไม้คิว  4 เส้น

   - ไม้อัด  1 แผ่น

   - ภาพไวนิล  ขนาด

6.  กิจกรรมศึกษาและบันทึกลักษณะทางพฤกษศาสตร์

7.  กิจกรรมบันทึกหรือวาดภาพ ทางพฤกษศาสตร์

8.  กิจกรรมทำตัวอย่างพรรณไม้(แห้งดองเฉพาะส่วน)

   - แอลกอฮอล์   1 แกลลอน

   - โหลแก้ว  คละขนาด 20 ใบ

9.  กิจกรรมเปรียบเทียบข้อมูลที่สรุป กับข้อมูลที่

   สืบค้น จากเอกสารแล้วบันทึกใน ก.7-003 หน้า

    9-10

10.  กิจกรรมจัดระบบทะเบียนพรรณไม้

11.  กิจกรรมทำร่างป้ายชื่อพันธุ์ไม้สมบูรณ์

12.  กิจกรรมตรวจความถูกต้องทางวิชาการด้านพฤกษศาสตร์

13.  กิจกรรมป้ายชื่อพรรณไม้สมบูรณ์

14.  กิจกรรมศึกษาข้อมูลจากพันธุ์ไม้เดิมและศึกษาธรรมชาติของพรรณไม้

     - ค่าอาหารกลางวัน  20 คน (20X50X3)

     - ค่าน้ำดื่ม   (20X7X3)

15.  กิจกรรมศึกษาวิเคราะห์สภาพพื้นที่

16.  กิจกรรมพิจารณาคุณ และสุนทรียภาพของพรรณไม้

17.  กิจกรรมกำหนดการใช้ประโยชน์ในพื้นที่

18.  กิจกรรมทำผังภูมิทัศน์

19.  กิจกรรมจัดหาพันธุ์ไม้ วัสดุปลูก

      - พันธุ์ไม้

      - ปุ๋ยคอก

20.  กิจกรรมการปลูกและดูแลรักษา

21.  กิจกรรมศึกษาคุณ ของพืชพรรณที่ปลูกออกแบบบันทึกการเปลี่ยนแปลง

22.  กิจกรรมศึกษาพรรณไม้ในสวน

23.  กิจกรรมพฤกษศาสตร์โรงเรียนครบตามทะเบียนพรรณไม้

24.  กิจกรรมศึกษาพันธุ์ไม้ที่สนใจ

25.  กิจกรรมรวบรวมผลการเรียนรู้

26.  กิจกรรมสรุปและเรียบเรียง

27.  กิจกรรมเรียนรู้รูปแบบการเขียน รายงาน

28.  กิจกรรมกำหนดรูปแบบการเขียนรายงาน

29.  กิจกรรมเรียนรู้วิธีการรายงานผล

30.  กิจกรรมกำหนดวิธีการรายงานผล

31.  กิจกรรมนำเสนอพฤกษศาสตร์โรงเรียนบูรณาการสู่การเรียนการสอน

32.  กิจกรรมเผยแพร่ความรู้

33.  กิจกรรมการจัดสร้างแหล่งเรียนรู้

34.  กิจกรรมสัมผัสเรียนรู้วงจรชีวิตของชีวภาพ

35.  กิจกรรมเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงและความแตกต่าง

36.  กิจกรรมรวบรวมองค์ความรู้ที่ได้จากการเรียนรู้ธรรมชาติแห่งชีวิต

37.  กิจกรรมเรียนรู้ธรรมชาติของปัจจัยชีวภาพอื่นที่เข้ามาเกี่ยวข้องกับปัจจัยหลัก

38.  กิจกรรมเรียนรู้ธรรมชาติของปัจจัยกายภาพ (ดิน  น้ำ แสง อากาศ)

39.  กิจกรรมเรียนรู้ธรรมชาติขิงปัจจัยอื่น ๆ

40.  กิจกรรมเรียนรู้ธรรมชาติของความพันเกี่ยวระหว่างปัจจัย

41.  กิจกรรมสรุปผลการเรียนรู้  ดุลภาพของการพันเกี่ยว

42.  กิจกรรมเรียนรู้วิเคราะห์ศักยภาพของปัจจัยศึกษา

43.  กิจกรรมเรียนรู้จินตนาการ เห็นคุณค่าของศักยภาพของปัจจัยศึกษา

44.  กิจกรรมสรรค์สร้างวิธีการ

45.  กิจกรรมสรุปผลการเรียนรู้ประโยชน์แท้แก่มหาชน

46.  กิจกรรมรายงานผลการดำเนินงานส่ง อพ.สธ.

     - กระดาษถ่ายเอกสาร  2 ริม

     - กระดาษปก  1 ริม

47.  กิจกรรมอบรมปฏิบัติการสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน

     - กระดาษทำเกียรติบัตร  2 ห่อ

48.  กิจกรรมรับการตรวจเยี่ยมและติดตามงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน

    - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม





 

180

450

1,200



 

2,500

2,000








 

3,000

420





 

2,000

500



























 

220

300

 

300

 

2,000

 



 

180

450

1,200



 

2,500

2,000








 

3,000

420





 

2,000

500



























 

220

300

 

300

 

2,000

 

รวม

15,070

 

15,070

 
การบรรลุตัวชี้วัด
ความพึงพอใจ
ปัญหาและอุปสรรค
ข้อเสนอแนะ
รูปภาพประกอบ