ชื่อโครงการ/กิจกรรม |
โครงการกิจกรรมค่ายและทัศนศึกษาห้องเรียนพิเศษวิทยศาสตร์-คณิตศาสตร์ |
ประเภท |
โรงเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ (Enrichment Science Classroom : ESC) |
ปีการศึกษา |
2560 |
มาตรฐาน |
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน
1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน 1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
2.1 มีเป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกิจที่สถานศึกษากำหนดขัดเจน 2.5 จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ 2.6 จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
3.1 จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงและสามารถนำไปประยุกต็ใช้ในชีวิตได้ 3.2 ใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ 3.3 มีการบริหารจัดการชั้นเรียบเชิงบวก 3.4 ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบและนำผลมาพัฒนาผู้เรียน 3.5 มีการแลกเปลียนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ |
ผู้รับผิดชอบ |
|
ความเป็นมา |
เนื่องจากการสร้างกำลังคนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีรุ่นใหม่ที่มีคุณภาพ จำเป็นต้องเริ่มต้นตั้งแต่ระดับเยาวชน โดยคัดสรรผู้เรียนที่มีศักยภาพ (Talented/Gifted Students) เพื่อนำเข้าสู่กระบวนการพัฒนาอย่างถูกทางและเหมาะสม ส่งเสริมให้อัจฉริยภาพที่มีอยู่เบ่งบานอย่างเต็มที่ และได้รับการพัฒนาเป็นนักวิจัยด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่มีคุณภาพ อันจะเป็นกำลังสำคัญต่อการพัฒนาประเทศ โดยใช้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในการเพิ่มผลิตภาพ และสร้างนวัตกรรมในภาคการผลิตและภาคสังคม/ชุมชนต่อไปในอนาคต ทางโรงเรียนจึงได้เห็นความสำคัญในโครงการห้องเรียนพิเศษ วิทย-คณิต และได้เห็นว่าการพัฒนานักเรียนที่ดีอีกิจกรรมหนึ่งคือการเข้าค่ายพัฒนาตนเองจึงได้จัดกิจกรรมนี้ขึ้น |
วัตถุประสงค์ |
1) เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีความสารถในการคิดอย่างเป็นระบบ คิดสร้างสรรค์ ตัดสินใจ แก้ปัญหา ได้อย่างมีเหตุผล
2) เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีทักษะรักการทำงาน สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ และมีเจตคติที่ดี
|
เป้าหมาย |
เชิงปริมาณ 1.) นักเรียนทุกคนเข้าร่วมโครงการ
เชิงคุณภาพ 1.) นักเรียนร้อยละ80มีผลงานจากการเข้าค่ายและการดูงานผ่านเกณฑ์การประเมินในระดับดีขึ้นไป
2.)นักเรียนร้อยละ80มีความพึงพอใจ ในการจัดกิจกรรม ในระดับดีขึ้นไป
|
ระยะเวลา |
3 ธ.ค. 2560 - 5 ธ.ค. 2560 |
สถานที่ดำเนินการ |
อุทยานวิทยาศาตร์พระจอมเกล้า ณ หว้อกอ อ เมือง จ.ประจวบฯ |
ตัวชี้วัด |
ตัวชี้วัดความสำเร็จ |
วิธีการประเมิน |
เครื่องมือ |
1.) นักเรียนทุกคนเข้าร่วมโครงการ |
สรุปจำนวนนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการ |
แบบสรุปจำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม |
2.) นักเรียนร้อยละ80 มีผลงานการเข้าค่ายและการดูงานผ่านเกณฑ์การประเมิน |
ประเมินชิ้นงาน |
แบบประเมินชิ้นงาน |
3.) นักเรียนร้อยละ 80 มีความพึงพอใจ ในการจัดกิจกรรม |
สอบถามความพึงพอใจ |
แบบประเมินความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนการสอน |
|
ผลที่คาดว่าจะได้รับ |
1).นักเรียนมีทักษะการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง มีทักษะและความสามารถ ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข
2.) นักเรียนมีผลงานที่เกิดจากความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ |
สรุปคะแนนประเมิน |
4 |
ไฟล์ประกอบ |
|
ขั้นเตรียมการ |
วางแผน (Plan) |
1.) ประชุมคณะกรรมการดำเนินงาน |
2.)เสนอโครงการและแผนงานแก่ผู้บริหาร |
ดำเนินการ(Do) ตามแผนที่กำหนด คือ |
1). ค่ายวิทย์-คณิต |
ตรวจสอบประเมินผล(Cheek) |
1.) ประเมินชิ้นงาน |
2.) สอบถามความพึงพอใจ |
ปรับปรุง (Action) |
1.) คณะกรรมการประชุมสรุปโครงการเสนอผู้บริหาร |
|
ขั้นดำเนินการ |
นำนักเรียนไปเข้าค่ายและดำเนินกิจกรรมตามฐานที่ทางวิทยากรได้จัด |
ขั้นตรวจสอบประเมินผล |
1.ทดสอบ
2.ตรวจผลงาน
3.ทำแบบประเมินความพึ่งพอใจ |
ขั้นสรุปและรายงาน |
ทำแบบประเมิน และสรุปรายงานผล
|
งบประมาณ |
104,000 บาท |
การบรรลุตัวชี้วัด |
บรรลุตามตัวชี้วัด |
ความพึงพอใจ |
สรุปการประเมินผลการเข้าร่วมกิจกรรมค่ายวิทยาศาสตร์
นักเรียนห้องโครงการพิเศษวิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์ ปีการศึกษา 2560
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ห้อง 1/1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ห้อง 2/1และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ห้อง 3/1
ณ อุทยานวิทยาศาสตร์พระจอมเกล้า ณ หว้ากอ อ. เมือง จ.ประจวบคีรีขันธ์
ระหว่างวันที่ 3-5 ธันวาคม 2560
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------
เนื้อหา
|
ระดับความพึงพอใจ |
มากที่สุด
|
มาก
|
ปานกลาง |
น้อย |
น้อยที่สุด |
1. สถานที่ที่ใช้ในการอบรม/การเดินทาง |
58.41 |
40.59 |
0.99 |
-- |
-- |
2. เนื้อหาความรู้ของการอบรม |
57.43 |
41.58 |
0.99 |
-- |
-- |
3. ขั้นตอนของวิทยากรในการอบรม |
46.53 |
51.49 |
0.99 |
-- |
-- |
4. ระยะเวลาในการอบรม |
50.50 |
44.55 |
4.95 |
-- |
-- |
5. การนำความรู้ไปใช้กับการเรียน |
70.30 |
28.71 |
0.99 |
-- |
-- |
6. การดูแลของวิทยากร/ครู |
71.29 |
28.71 |
- |
-- |
-- |
7. ความร่วมมือของสมาชิกในกลุ่ม |
46.53 |
48.51 |
12.97 |
0.99 |
-- |
8. การศึกษาดูงานระหว่างเดินทาง |
63.37 |
34.65 |
1.98 |
-- |
-- |
สรุป ระดับความพึงพอใจมากที่สุด ของนักเรียนที่เข้ารับการอบรม
อันดับที่ 1 เนื้อหาความรู้ของการอบรม ร้อยละ 71.29
อันดับที่ 2 การนำความรู้ไปใช้กับการเรียน ร้อยละ 70.30
อันดับที่ 3 การดูแลของวิทยากร/ครู ร้อยละ 63.37
9. กิจกรรมใดที่ประทับใจที่สุด
อันดับที่ |
1 |
2 |
3 |
กิจกรรม |
การดูนก |
การดูดาว |
การนัันทนาการ |
ร้อยละ |
30.69 |
25.74 |
15.84 |
10. กิจกรรมใดที่ได้รับความรู้มากที่สุด
อันดับที่ |
1 |
2 |
3 |
กิจกรรม |
การดูดาว |
การดูนก |
ฟากฟ้า ณ หว้ากอ |
ร้อยละ |
53.47 |
23.76 |
14.85 |
11. สิ่งใดที่ควรปรับปรุง ระยะเวลาในการอบรม น้อยเกินไป ร้อยละ 11.43
|
ปัญหาและอุปสรรค |
- |
ข้อเสนอแนะ |
- |
รูปภาพประกอบ |
|