ชื่อโครงการ/กิจกรรม |
งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๑ |
ประเภท |
โรงเรียนที่จัดกิจกรรมการเรียนรู้ฯ ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง |
ปีการศึกษา |
2560 |
มาตรฐาน |
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน
1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
2.5 จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
3.1 จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงและสามารถนำไปประยุกต็ใช้ในชีวิตได้ |
ผู้รับผิดชอบ |
|
ความเป็นมา |
ตามที่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงมีพระราชดำริบางประการเกี่ยวกับการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช ซึ่งมีใจความดังต่อไปนี้
“การสอนและอบรมให้เด็กมีจิตสำนึกในการอนุรักษ์พืชพรรณนั้น ควรใช้วิธีการปลูกฝังให้เด็กเห็นความงดงาม ความสนใจ และเกิดความปิติที่จะทำการศึกษาและอนุรักษ์พืชพรรณต่อไป การให้วิธีสอน การอบรมและให้ความรู้สึกกลัวว่า หากไม่อนุรักษ์แล้วจะเกิดผลเสียเกิดอันตรายแก่ตนเอง จะทำให้เด็กเกิดความเครียด ซึ่งจะเป็นผลเสียแก่ประเทศในระยะยาว”
โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ ได้ดำเนินงานสนองพระราชดำริจัดตั้งงาน “สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน” เพื่อเป็นสื่อในการสร้างจิตสำนึกด้านอนุรักษ์พันธุกรรมพืชโดยให้เยาวชนนั้นได้ใกล้ชิดกับพืชพรรณไม้ เห็นคุณค่าประโยชน์ ความสวยงาม อันจะก่อให้เกิดความคิดที่จะอนุรักษ์พืชพรรณต่อไป
สวนพฤกษศาสตร์ คือ แหล่งที่รวบรวมพันธุ์พืชชนิดต่างๆ ทีมีชีวิต จัดปลูกตามความเหมาะสมกับสภาพถิ่นอาศัยเดิม มีห้องสมุด สถานที่เก็บรวบรวมตัวอย่างพรรณไม้รักษาสภาพ อาจเป็นตัวอย่างแห้งหรือตัวอย่างดอง หรือเก็บรักษาด้วยวิธีอื่นๆ พันธุ์พืชที่ทำการรวบรวมไว้นั้นจะเป็นแหล่งข้อมูลและการเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับพันธุ์ไม้ นอกจากนี้สามารถใช้เป็นแหล่งพักผ่อนหย่อนใจซึ่งสามารถดำเนินการสวนพฤกษศาสตร์ในพื้นที่ของโรงเรียน โดยมีองค์ประกอบดังกล่าว เป็นสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนใช้ในวัตถุประสงค์ดังกล่าว อีกทั้งใช้ในการศึกษาและเป็นประโยชน์ในการสอนวิชาต่างๆ
จากพระราชดำริและพระราโชวาทของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีในเรื่องของสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ซึ่งมีความสอดคล้องกับงานปกติในเรื่องของการเรียนการสอน และในเรื่องของการปฏิรูปการศึกษา ซึ่งเน้นให้นักเรียนเป็นศูนย์กลาง ดังนั้นทางโรงเรียนจึงได้มีการประชุมหารือ และเห็นพ้องต้องกันที่จะสนองราชดำริ ดำเนินงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน อันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ
สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน จึงเป็นการดำเนินงานในอีกรูปแบบหนึ่งของ “สวนพฤกษศาสตร์” โดยมีการรวมพันธุ์ที่มีชีวิต มีแหล่งข้อมูลความรู้เกี่ยวกับพันธุ์ไม้ มีการศึกษาต่อเนื่อง มีการเก็บตัวอย่างพันธุ์ไม้แห้งและพันธุ์ไม้ดอง มีการรวบรวมพันธุ์ไม้ท้องถิ่นเข้ามาปลูกรวบรวมไว้ในโรงเรียนและภูมิปัญญาท้องถิ่น มีการบันทึกรายงานและข้อมูลรวมทั้งภูมิปัญญาท้องถิ่นเกี่ยวกับพันธุ์ไม้ มีมุมสำหรับศึกษาค้นคว้าและมีการนำไปใช้ประโยชน์เพื่อเป็นสื่อการเรียนการสอนในวิชาต่างๆ เป็นการดำเนินการให้สอดคล้องกับสภาพท้องถิ่น ไม่ฝืนธรรมชาติ และเป็นไปตามความสนใจและความพร้อมของโรงเรียน ดำเนินการโดยสมัครใจไม่ให้เกิดความเครียด
|
วัตถุประสงค์ |
๒.๑ ผลผลิต (Outputs)
๑) เพื่อให้นักเรียนแต่ละระดับได้มีส่วนร่วมในการดูแลพื้นที่รับผิดชอบตามโครงการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
๒) เพื่อให้บุคลากร นักเรียนได้ใช้สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนเป็นแหล่งเรียนรู้เกี่ยวกับพรรณไม้ในโรงเรียน
๒.๒ ผลลัพธ์ (Outcomes)
๑) เพื่อประโยชน์ในการศึกษาค้นคว้าและการเรียนการสอนวิชาต่างๆ โดยมุ่งให้นักเรียนสร้างองค์ความรู้ได้ด้วยตนเอง และเก่ง ดี มีความสุข
๒) เพื่อให้โรงเรียนเป็นแหล่งรวบรวมพรรณไม้ ข้อมูลพรรณไม้ และการเก็บรักษา เพื่อประโยชน์ทางการศึกษา และเผยแพร่สู่ภายนอก
๓) เพื่อสร้างจิตสำนึกให้นักเรียนเห็นคุณค่าของการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเป็นโครงการตามพระราชดำริในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี
|
เป้าหมาย |
๓. เป้าหมาย
๓.๑ เชิงปริมาณ
นักเรียนโรงเรียนกุดไผทประชาสรรค์ จำนวน ๒๔๒ คนได้เรียนรู้และสนองพระราชดำริ มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช ดูแลสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
๓.๒ เชิงคุณภาพ
นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้และดูแลสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน มีจิตสำนึกคุณค่าของการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช รักและภาคภูมิใจในโรงเรียน นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีขึ้น
|
ระยะเวลา |
16 พ.ค. 2560 - 11 ต.ค. 2561 |
สถานที่ดำเนินการ |
โรงเรียน |
ตัวชี้วัด |
ตัวชี้วัดความสำเร็จ |
ข้อมูลปีฐาน |
ค่าเป้าหมายตัวชี้วัด |
วิธีการประเมิน |
เครื่องมือ |
ผลผลิต(Outputs)
๑.นักเรียน ครู และบุคลากรโรงเรียนกุดไผทประชาสรรค์มีส่วนร่วมทุกคน |
|
|
ประเมินผลงานนักเรียนและความร่วมมือของครู |
ผลงานนักเรียน |
๒. นักเรียน ครู และบุคลากรมีจิตสมนึกในการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช |
|
|
ประเมินความพึงพอใจ |
แบบประเมินความพึงพอใจ |
ผลลัพธ์ (Outcomes)
๑.นักเรียนสร้างองค์ความรู้ได้เอง และเก่ง ดี มีความสุข |
|
|
ประเมินจากผลงานนักเรียน |
ผลงานนักเรียน |
๒. เป็นแหล่งรวบรวมตัวอย่างพรรณไม้ ข้อมูลพรรณไม้ และการเก็บรักษา เพื่อประโยชน์ทางการศึกษา และเผยแพร่สู่ภายนอก |
|
|
ประเมินความพึงพอใจ |
แบบประเมินความพึงพอใจ |
|
ผลที่คาดว่าจะได้รับ |
ผลผลิต(Outputs)
๑.นักเรียน ครู และบุคลากรโรงเรียนกุดไผทประชาสรรค์มีส่วนร่วมทุกคน |
๒. นักเรียน ครู และบุคลากรมีจิตสมนึกในการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช |
ผลลัพธ์ (Outcomes)
๑.นักเรียนสร้างองค์ความรู้ได้เอง และเก่ง ดี มีความสุข |
๒. เป็นแหล่งรวบรวมตัวอย่างพรรณไม้ ข้อมูลพรรณไม้ และการเก็บรักษา เพื่อประโยชน์ทางการศึกษา และเผยแพร่สู่ภายนอก |
|
สรุปคะแนนประเมิน |
0.00 |
ไฟล์ประกอบ |
|
ขั้นเตรียมการ |
กิจกรรมที่สำคัญ |
ระยะเวลา |
ผู้รับผิดชอบ |
๑.ชุมคณะกรรมการดำเนินงาน |
ตุลาคม ๒๕๕๙ |
กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ |
๒.เสนอโครงการต่อผู้บริหาร |
ตุลาคม ๒๕๕๙ |
กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ |
๓. คณะกรรมการวางแผน กำหนดเขตพื้นที่รับผิดชอบของนักเรียนในแต่ละระดับชั้นต่างๆ |
พฤศจิกายน ๒๕๕๙ |
กลุ่มสารวิทยาศาสตร์ |
๔.คณะกรรมการแจ้งนักเรียนแต่ละระดับ |
พฤศจิกายน ๒๕๕๙ |
กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ |
๕. นักเรียนปฏิบัติกิจกรรม เรียนรู้ ดูแลสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน |
ตลอดปี |
กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ |
๖. สรุปผลการดำเนินกิจกรรม |
มีนาคม๒๕๖๐ และกันยายน ๒๕๖๐ |
กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ |
๗. รายงานผลการดำเนินกิจกรรม |
เมษายน ๒๕๖๐ และ
กันยายน ๒๕๖๐ |
กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ |
|
ขั้นดำเนินการ |
กิจกรรมที่สำคัญ |
ระยะเวลา |
ผู้รับผิดชอบ |
๑.ชุมคณะกรรมการดำเนินงาน |
ตุลาคม ๒๕๕๙ |
กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ |
๒.เสนอโครงการต่อผู้บริหาร |
ตุลาคม ๒๕๕๙ |
กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ |
๓. คณะกรรมการวางแผน กำหนดเขตพื้นที่รับผิดชอบของนักเรียนในแต่ละระดับชั้นต่างๆ |
พฤศจิกายน ๒๕๕๙ |
กลุ่มสารวิทยาศาสตร์ |
๔.คณะกรรมการแจ้งนักเรียนแต่ละระดับ |
พฤศจิกายน ๒๕๕๙ |
กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ |
๕. นักเรียนปฏิบัติกิจกรรม เรียนรู้ ดูแลสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน |
ตลอดปี |
กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ |
๖. สรุปผลการดำเนินกิจกรรม |
มีนาคม๒๕๖๐ และกันยายน ๒๕๖๐ |
กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ |
๗. รายงานผลการดำเนินกิจกรรม |
เมษายน ๒๕๖๐ และ
กันยายน ๒๕๖๐ |
กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ |
|
ขั้นตรวจสอบประเมินผล |
|
ขั้นสรุปและรายงาน |
|
งบประมาณ |
ที่ |
รายการ/กิจกรรม/คำชี้แจงในการใช้งบประมาณ |
งบประมาณ |
นอกงบ
ประมาณ |
รวม |
ไตรมาศที่ใช้งบประมาณ |
|
นักเรียนปฏิบัติกิจกรรม เรียนรู้ ดูแลสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน |
|
|
|
|
|
๑. การจัดทำป้ายชื่อพรรณไม้ |
๓,๐๐๐ |
|
|
|
|
๒. การรวบรวมพรรณไม้เข้าปลูกในโรงเรียน |
๑,๐๐๐ |
|
|
|
|
๓. การศึกษาข้อมูลด้านต่างๆ |
๒,๐๐๐ |
|
|
|
|
๔. การรายงานผลการเรียนรู้ |
๑,๐๐๐ |
|
|
|
|
๕. การนำประโยชน์ทางการศึกษา |
๑,๐๐๐ |
|
|
|
|
การบรรลุตัวชี้วัด |
|
ความพึงพอใจ |
|
ปัญหาและอุปสรรค |
|
ข้อเสนอแนะ |
|
รูปภาพประกอบ |
|