Loading...

ข้อมูลโครงการพิเศษ

  PDF

เพิ่มเวลารู้ มุ่งสู่โลกกว้าง

โรงเรียน : ช้างบุญวิทยา สพม.สุรินทร์

ประเภท : โรงเรียนนำร่องโครงการตามนโยบายลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้

ผลการประเมิน : 4.5

เผยแพร่เมื่อ : 13 ก.ย. 2561 โดย : Admin ช้างบุญวิทยา จำนวนผู้เข้าชม 63 คน


ชื่อโครงการ/กิจกรรม เพิ่มเวลารู้ มุ่งสู่โลกกว้าง
ประเภท โรงเรียนนำร่องโครงการตามนโยบายลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้
ปีการศึกษา 2561
มาตรฐาน มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
ผู้รับผิดชอบ
ความเป็นมา ตามที่ทางรัฐบาลมีนโยบายในการปรับลดเวลาเรียนให้เรียนในชั้นเรียนถึงเวลา 14.00 น. ของแต่ละวันหลังจากนั้นจึงให้นักเรียนได้มีโอกาสปฏิบัติกิจกรรมที่เป็นการพัฒนานักเรียนในด้านอื่นๆ ภายในโรงเรียน โดยจะเริ่ม วันที่ 1 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2558 และมีเป้าหมายโรงเรียนนำร่อง 10% ของโรงเรียนทั้งหมด
          ด้วยทางโรงเรียนช้างบุญวิทยา ได้รับคัดเลือกจากสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33 ให้เป็นโรงเรียนนำร่องในโครงการดังกล่าว ฉะนั้นทางโรงเรียนช้างบุญวิทยาจึงได้มีการปรับโครงสร้างเวลาเรียนหลักสูตรสถานศึกษา เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายดังกล่าว และกำหนดกิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้”เพิ่มเติมเข้าไปในหลักสูตร และตารางเรียนตารางสอน เพื่อให้นักเรียนได้ทำกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ และเสริมสร้างความรู้เพิ่มให้เกิดแก่ผู้เรียนตามแนวทางดำเนินการของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) เพื่อต้องการจะตอบโจทย์ว่าจะทำอย่างไรให้เด็กผู้ปกครองและครูมีความสุขในการเรียนการสอนซึ่งสอดคล้องกับนโยบายของนายกรัฐมนตรีที่ต้องการให้พิจารณาเรื่องเวลาเรียนของเด็กในปัจจุบันด้วย
 
วัตถุประสงค์ 2. วัตถุประสงค์
          2.1 ผลผลิต (Outputs)
                    1. ครู นักเรียน ผู้ปกครองมีความสุขในการเรียนการสอนของทุกวัน
                    2. นักเรียนได้รับความรู้จากการทำกิจกรรมนอกห้องเพิ่มเติมจากในห้องเรียน
                    3. นักเรียนมีทักษะการใช้ชีวิต และการดำรงชีวิต
4. สร้างความสัมพันธ์ระหว่างชุมชน ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการเรียนรู้ของนักเรียน
2.2 ผลลัพธ์ (Outcomes)
          1. ครู นักเรียน ผู้ปกครองมีความสุขในการจัดกิจกรรม
                    2. นักเรียนมีความรู้ที่นำมาใช้ในการดำรงชีวิตได้จริง
                    3. นักเรียนเกิดความรู้จากการลงมือปฏิบัติ
                   4. ชุมชนให้ความร่วมมือ ดูแล และมีสัมพันธภาพที่ดีกับโรงเรียน
          5. เป็นการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
 
เป้าหมาย
ระยะเวลา 13 ก.ย. 2561 - 13 ก.ย. 2561
สถานที่ดำเนินการ โรงเรียนช้างบุญวิทยา
ตัวชี้วัด
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
สรุปคะแนนประเมิน 4.5
ไฟล์ประกอบ
ขั้นเตรียมการ
ที่ กิจกรรมและวิธีการดำเนินงาน ระยะเวลาดำเนินงาน ผู้รับผิดชอบ
1 จัดอบรมครู และบุคลากรทางการศึกษา เพื่อรับทราบนโยบายร่วมกันจากทาง สพฐ. และเขตพื้นที่การศึกษา พฤษภาคม 2561 นายธนิต  เยี่ยมรัมย์นางสาวยุพิน  สร้อยจิตร
2 - จัดประชุมครู เพื่อรับสรุปงาน เตรียมงาน และสร้างความเข้าใจที่ตรงการ เพื่อเตรียมความพร้อมในการจัดกิจกรรม
- ประชุมชี้แจงนโยบายให้แก่คณะกรรมการสถานศึกษา และผู้ปกครองนักเรียนได้รับทราบโดยทั่วกัน
พฤษภาคม 2561 นายธนิต  เยี่ยมรัมย์นางสาวยุพิน  สร้อยจิตร
 
ขั้นดำเนินการ
3 - ดำเนินงานตามกิจกรรมที่ได้เปิดทำการเรียนการสอนในแต่ละสัปดาห์
- ประชุมสรุปงาน (AAR) ทุกวันศุกร์ เพื่อสรุปการจัดกิจกรรมในแต่ละสัปดาห์ หาแนวทางแก้ไขปัญหา และเตรียมความพร้อมในการจัดกิจกรรมในสัปดาห์ต่อไป
- รับการนิเทศ ติดตามจากเขตพื้นที่การศึกษา เดือนละ 2 ครั้ง เพื่อสรุปงาน และหาแนวทางแก้ไขปัญหาในการจัดกิจกรรม
ตลอดภาคเรียน นายธนิต  เยี่ยมรัมย์นางสาวยุพิน  สร้อยจิตร
 
ขั้นตรวจสอบประเมินผล
ตัวชี้วัดความสำเร็จ ข้อมูลปีฐาน ค่าเป้าหมายตัวชี้วัด วิธีการประเมินผล เครื่องมือที่ใช้ประเมินผล
ผลผลิต (Outputs)
1. ร้อยละครู นักเรียน ผู้ปกครองมีความสุขในการเรียนการสอนของทุกวัน
   2. ร้อยละนักเรียนได้รับความรู้จากการทำกิจกรรมนอกห้องเพิ่มเติมจากในห้องเรียน
   3. ร้อยละนักเรียนมีทักษะการใช้ชีวิต และการดำรงชีวิต


   4. ร้อยละของการให้ความร่วมมือจากชุมชน ในการมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ของนักเรียน

85

90

90



80
 

90

95

95



90

 

1.  ประเมินความพึงพอใจหลังร่วมกิจกรรมของครู นักเรียน และผู้ปกครอง
2. สังเกตพฤติกรรมของครู นักเรียน และผู้ปกครอง
3. สอบถามความพึงพอใจในกิจกรรมของครู นักเรียน และผู้ปกครอง

1. แบบประเมินความพึงพอใจ
2.แบบบันทึก
3.แบบสรุปการทำ AAR
ผลลัพธ์ (Outcomes)
  1. ร้อยละของครู นักเรียน ผู้ปกครองมีความสุขในการจัดกิจกรรม

 2. ร้อยละของนักเรียนมีความรู้ที่นำมาใช้ในการดำรงชีวิตได้จริง
   3. ร้อยละของนักเรียนเกิดความรู้จากการลงมือปฏิบัติ
   4. ร้อยละของชุมชนให้ความร่วมมือ ดูแล และมีสัมพันธภาพที่ดีกับโรงเรียน
5. ร้อยละของครู นักเรียน และผู้ปกครองมีความพึงพอใจในการจัดกิจกรรม

90


90

90

90

90

 

95


95

95

95

95
 

1.  ประเมินความพึงพอใจหลังร่วมกิจกรรมของครู นักเรียน และผู้ปกครอง
2. สังเกตพฤติกรรมของครู นักเรียน และผู้ปกครอง
3. สอบถามความพึงพอใจในกิจกรรมของครู นักเรียน และผู้ปกครอง

1. แบบประเมินความพึงพอใจ
2.แบบบันทึก
3.แบบสรุปการทำ AAR
ขั้นสรุปและรายงาน
งบประมาณ
ที่ รายการ/กิจกรรม/คำชี้แจงในการใช้งบประมาณ งบประมาณ นอกงบ
ประมาณ
รวม ไตรมาส
ที่ใช้งบฯ
1. การดำเนินกิจกรรมในแต่ละสัปดาห์
  • ค่าวัสดุในการจัดกิจกรรม
  • ค่าอุปกรณ์ที่ใช้ในการจัดกิจกรรม
  • ค่าวิทยากรภายนอก

4,000
4,000
       3,000

-
-
-

4,000
4,000
3,000

3-4/61-
1-2/62
2. สรุปผลการดำเนินงานตามโครงการและรายงานผู้บริหารสถานศึกษา ต้นสังกัดและสาธารณชนทราบ
  • ค่าวัสดุ



1,000



-



1,000



2/61
  รวมทั้งสิ้น 12,000 - 12,000  
การบรรลุตัวชี้วัด
ความพึงพอใจ
ปัญหาและอุปสรรค
ข้อเสนอแนะ
รูปภาพประกอบ