โรงเรียน : ศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา สพม.ร้อยเอ็ด
ประเภท : โรงเรียนที่จัดกิจกรรมการเรียนรู้ฯ ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ผลการประเมิน : 0.01
เผยแพร่เมื่อ : 27 ก.ย. 2561 โดย : สุภาพร ดวงพรม จำนวนผู้เข้าชม 68 คน
ชื่อโครงการ/กิจกรรม | ศูนย์เศรษฐกิจพอเพียง | |||||||||||||||||||||||||
ประเภท | โรงเรียนที่จัดกิจกรรมการเรียนรู้ฯ ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง | |||||||||||||||||||||||||
ปีการศึกษา | ต่อเนื่อง | |||||||||||||||||||||||||
มาตรฐาน |
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน 1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน 3.1 จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงและสามารถนำไปประยุกต็ใช้ในชีวิตได้ 3.5 มีการแลกเปลียนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ |
|||||||||||||||||||||||||
ผู้รับผิดชอบ | ||||||||||||||||||||||||||
ความเป็นมา | จากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 ( พ.ศ. 2555- 2559 ) ยังคงอัญเชิญ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาเป็นแนวทางปฎิบัติควบคู่ไปกับการพัฒนาแบบูรณาการเป็นองค์รวมที่มีคนเป็นศูนย์กลางพัฒนาอย่างจริงจัง เพื่อใช้เป็นแนวทางในการขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศให้เกิดความสมดุล เป็นธรรมและยั่งยืนมุ่งสู่ สังคมอยู่เย็นเป็นสุขร่วมกัน อันจะเป็นการเสริมสร้างประโยชน์สูงสุดให้แก่ประชาชนโดยถ้วนหน้าสมดังพระราชปณิธานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภาวะการเจริญเติบโตทางด้านเศรษฐกิจของประเทศไทยทำให้การดำรงชีวิตของคน ในสังคมไทยได้นำเอาสิ่งอำนวยความสะดวกในทุกๆด้านเข้ามาใช้ในชีวิตประจำวัน แม้กระทั่ง สิ่งอุปโภคและบริโภคต่างๆล้วนอำนวยความสะดวกต่อคนไทยในสังคมทั้งสิ้น ด้วยเหตุผลข้างต้น ทำให้การใช้ชีวิตของคนไทยที่ผ่านมานั้นถึงแม้จะได้รับความสะดวกสบายในเบื้องต้นแต่สิ่งที่ตามมาโดยไม่รู้ตัวคือการดำรงชีวิตประจำวันที่ฟุ่มเฟือยทำให้คนในสังคมต้องประสบกับปัญหาการดำรงชีวิตตามมา ฉะนั้นสิ่งที่จะสามารถแก้ปัญหาการดำรงชีวิตของคนในสังคมไทย เรื่องการใช้จ่ายฟุ่มเฟือย โดยเฉพาะรายจ่ายในครอบครัวให้มีรายจ่ายน้อยลงได้ คือการดำรงชีวิตอย่างพอเพียงตามแนวพระราชดำริ ดังนั้นโครงการเศรษฐกิจพอเพียง จึงเป็นโครงการหนึ่งที่เป็นประโยชน์ต่อนักเรียนโดยตรงเพราะได้ฝึกปฏิบัติจริง และสามารถนำไปประกอบอาชีพแบบยั่งยืนได้ อันจะเป็นประโยชน์ ต่อครอบครัว และชุมชน โรงเรียนบ้านป่าบงจึงได้จัดกิจกรรมปลูกพืชผักสวนครัวและผักพื้นบ้าน การเพาะเห็ดฟาง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว การทำงานใบตองโดยการจัดทำโครงการนี้ขึ้น จากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 ( พ.ศ. 2555- 2559 ) ยังคงอัญเชิญ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาเป็นแนวทางปฎิบัติควบคู่ไปกับการพัฒนาแบบูรณาการเป็นองค์รวมที่มีคนเป็นศูนย์กลางพัฒนาอย่างจริงจัง เพื่อใช้เป็นแนวทางในการขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศให้เกิดความสมดุล เป็นธรรมและยั่งยืนมุ่งสู่ สังคมอยู่เย็นเป็นสุขร่วมกัน อันจะเป็นการเสริมสร้างประโยชน์สูงสุดให้แก่ประชาชนโดยถ้วนหน้าสมดังพระราชปณิธานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภาวะการเจริญเติบโตทางด้านเศรษฐกิจของประเทศไทยทำให้การดำรงชีวิตของคน ในสังคมไทยได้นำเอาสิ่งอำนวยความสะดวกในทุกๆด้านเข้ามาใช้ในชีวิตประจำวัน แม้กระทั่ง สิ่งอุปโภคและบริโภคต่างๆล้วนอำนวยความสะดวกต่อคนไทยในสังคมทั้งสิ้น ด้วยเหตุผลข้างต้น ทำให้การใช้ชีวิตของคนไทยที่ผ่านมานั้นถึงแม้จะได้รับความสะดวกสบายในเบื้องต้นแต่สิ่งที่ตามมาโดยไม่รู้ตัวคือการดำรงชีวิตประจำวันที่ฟุ่มเฟือยทำให้คนในสังคมต้องประสบกับปัญหาการดำรงชีวิตตามมา ฉะนั้นสิ่งที่จะสามารถแก้ปัญหาการดำรงชีวิตของคนในสังคมไทย เรื่องการใช้จ่ายฟุ่มเฟือย โดยเฉพาะรายจ่ายในครอบครัวให้มีรายจ่ายน้อยลงได้ คือการดำรงชีวิตอย่างพอเพียงตามแนวพระราชดำริ ดังนั้นโครงการเศรษฐกิจพอเพียง จึงเป็นโครงการหนึ่งที่เป็นประโยชน์ต่อนักเรียนโดยตรงเพราะได้ฝึกปฏิบัติจริง และสามารถนำไปประกอบอาชีพแบบยั่งยืนได้ อันจะเป็นประโยชน์ ต่อครอบครัว และชุมชน โรงเรียนบ้านป่าบงจึงได้จัดกิจกรรมปลูกพืชผักสวนครัวและผักพื้นบ้าน การเพาะเห็ดฟาง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว การทำงานใบตองโดยการจัดทำโครงการนี้ขึ้น |
|||||||||||||||||||||||||
วัตถุประสงค์ | 1 เพื่อต้องการศึกษากระบวนการพัฒนาตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง 2 เพื่อฝึกทักษะอาชีพและมีรายได้ระหว่างเรียน 3 เพื่อให้นักเรียน รู้จักการใช้ชีวิตที่พอเพียงมีความรู้ความสามารถในกิจกรรมที่ตนเองสนใจ |
|||||||||||||||||||||||||
เป้าหมาย | 1 ด้านคุณภาพ (Quality) 1.1 นักเรียนรู้จักการใช้ชีวิตที่พอเพียง นำหลักการไปปฏิบัติสามารถลดรายจ่ายในครัวเรือน ได้รับการฝึกทักษะอาชีพและกล้าแสดงออก 2 ด้านปริมาณ (Quantity) 2.1 บุคลากรในโรงเรียนทุกคน มีความรู้ความสามารถในการใช้ชีวิตอย่างพอเพียงนักเรียนทุกคนกล้าแสดงออก ตลอดจนได้ฝึกทักษะอาชีพและมีรายได้ระหว่างเรียน |
|||||||||||||||||||||||||
ระยะเวลา | 14 ก.ย. 2561 - 14 ก.ย. 2561 | |||||||||||||||||||||||||
สถานที่ดำเนินการ | โรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พํมนาวิทยา | |||||||||||||||||||||||||
ตัวชี้วัด | 1.ด้านปริมาณ 1.1 นักเรียนสามารถนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้ในการดำเนินชีวิตร้อยละ 80 1.2 ครูในกลุ่มสาระการเรียนรู้ทั้ง 8 กลุ่มสาระนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอน ร้อยละ 80 1.3 ฝ่ายบริหารนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในการบริหารงาน ร้อยละ 80 2. ด้านคุณภาพ โรงเรียนนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาบูรณาการในการบริหารจัดการ การเรียนการสอนและใช้ในการดำเนินชีวิตของนักเรียน ครูและผู้บริหารได้อย่างยั่งยืน |
|||||||||||||||||||||||||
ผลที่คาดว่าจะได้รับ | 1 นักเรียนได้ฝึกทักษะอาชีพและมีรายได้ระหว่างเรียน 2 นักเรียนมีความสามารถในการปฏิบัติงานอาชีพ |
|||||||||||||||||||||||||
สรุปคะแนนประเมิน | 0.01 | |||||||||||||||||||||||||
ไฟล์ประกอบ |
เศรษฐกิจ61.docx |
|||||||||||||||||||||||||
ขั้นเตรียมการ | 1. ประชุมคณะครูปรึกษาหารือ2. แต่งตั้งผู้รับผิดชอบ3. เสนอกรรมการสถานศึกษาเห็นชอบและเสนอแนะ |
|||||||||||||||||||||||||
ขั้นดำเนินการ | 1. แบ่งกลุ่มการจัดเตรียมดินเพื่อเพาะปลูก 2. เตรียมพันธุ์พืช 3. ลงมือปฏิบัติ 4. การเก็บเกี่ยวผลผลิตพร้อมทั้งจำหน่าย |
|||||||||||||||||||||||||
ขั้นตรวจสอบประเมินผล | ประเมินผลเมื่อสิ้นสุดกิจกรรม |
|||||||||||||||||||||||||
ขั้นสรุปและรายงาน | 1. สรุปวิเคราะห์รายงานผล 2.นำเสนอคณะกรรมการสถานศึกษา คณะครูวิเคราะห์ วิพากย์ให้ข้อเสนอแนะ |
|||||||||||||||||||||||||
งบประมาณ | ประมาณการค่าใช้จ่าย
|
|||||||||||||||||||||||||
การบรรลุตัวชี้วัด |
|
|||||||||||||||||||||||||
ความพึงพอใจ | นักเรียนรู้จักการใช้ชีวิตที่พอเพียง นำหลักการไปปฏิบัติสามารถลดรายจ่ายในครัวเรือน ได้รับการฝึกทักษะอาชีพและกล้าแสดงออก |
|||||||||||||||||||||||||
ปัญหาและอุปสรรค | วัสดุ อุปกรณ์ยังไม่เพียงพอ | |||||||||||||||||||||||||
ข้อเสนอแนะ | ควรมีการดูแลให้มากกว่านี้ | |||||||||||||||||||||||||
รูปภาพประกอบ |
![]() |