Loading...

ข้อมูลโครงการพิเศษ

  PDF

โครงการ ปลูกจิตสำนึกรักษ์สิ่งแวดล้อม

โรงเรียน : ดอยสะเก็ดวิทยาคม สพม.เชียงใหม่

ประเภท : โรงเรียนที่จัดกิจกรรมการเรียนรู้ฯ ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

ผลการประเมิน : 0.00

เผยแพร่เมื่อ : 25 ก.ย. 2561 โดย :   จำนวนผู้เข้าชม 863 คน


ชื่อโครงการ/กิจกรรม โครงการ ปลูกจิตสำนึกรักษ์สิ่งแวดล้อม
ประเภท โรงเรียนที่จัดกิจกรรมการเรียนรู้ฯ ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปีการศึกษา 2561
มาตรฐาน มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน
     1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน

     2.5 จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ

     3.1 จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงและสามารถนำไปประยุกต็ใช้ในชีวิตได้
ผู้รับผิดชอบ
ความเป็นมา สภาพแวดล้อมในโรงเรียน  เช่น  ต้นไม้ สนามหญ้า  สภาพของห้องเรียน  มีผลต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน  การจัดสภาพแวดล้อมให้  สะอาด  สวยงาม  ร่มรื่น ปลอดภัย  เหมาะสมนั้น นอกจากจะทำให้โรงเรียนน่าอยู่แล้วยังมีส่วนทำให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดีขึ้นอีกด้วย  แต่การจัดการสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนให้สะอาด สวยงาม ร่มรื่น ปลอดภัยนั้นไม่ใช่หน้าที่ของใครคนใดคนหนึ่ง  แต่เป็นหน้าที่ของคนทุกคนที่อยู่ในโรงเรียนแห่งนี้  ทุกคนต้องมีสำนึกรักษ์สิ่งแวดล้อม  ร่วมมือกันทำโรงเรียนนี้ให้มีสภาพแวดล้อมที่ดี สะอาด สวยงาม  ร่มรื่น  ปลอดภัย น่าอยู่  น่าเรียน
วัตถุประสงค์ 1.  เพื่อปลูกจิตสำนึกรักษ์สิ่งแวดล้อม
2.  เพื่อปลูกฝังคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของนักเรียนและบุคลากรในโรงเรียน
3.  เพื่อทำให้โรงเรียนสะอาดน่าอยู่

 
เป้าหมาย เชิงปริมาณ
1.  นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนทุกคนมีส่วนร่วมในการพัฒนาสิ่งแวดล้อมให้ดีขึ้น
2.  นักเรียนและบุคลากรทุกคนมีวินัย  มีจิตสาธารณะ รักการทำงาน
3.  ห้องเรียน สวนหย่อม ห้องสำนักงานทุกห้อง สะอาดน่าอยู่
เชิงคุณภาพ
1.  นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนจิตสำนึกรักษ์สิ่งแวดล้อม มีความรักหวงแหนโรงเรียน มีจิตสาธารณะ  และโรงเรียนมีสภาพแวดล้อมที่ดี  เอื้อต่อการเรียนรู้

 
ระยะเวลา 1 เม.ย. 2561 - 30 มี.ค. 2562
สถานที่ดำเนินการ โรงเรียนดอยสะเก็ดวิทยาคม
ตัวชี้วัด สนองกลยุทธ์ของโรงเรียน
กลยุทธ์ที่  1     พัฒนานักเรียนให้มีความรู้ตามศักยภาพ และทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21  มีคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะที่พึงประสงค์  โดยยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  บนพื้นฐานความเป็นไทย
จุดเน้น
จุดเน้นที่  2.     นักเรียนมีสมรรถนะ  มีความสามารถและมีทักษะอย่างหลากหลาย
2.1.   การแสดงออกของนักเรียนอย่างเด่นชัดไม่น้อยกว่า  5  ด้าน  การแสดงออกครอบคลุมใน  5  ด้าน  ได้แก่  ด้านความรู้  ด้านความสามารถ  ด้านคุณธรรม  จริยธรรม  ศิลปะ  ดนตรี  กีฬา  ลูกเสือ  การอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม  การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม  เทคโนโลยี  จิตอาสา  จิตสาธารณะ  การพัฒนาชุมชน
2.2.   นักเรียนมีทักษะการคิด
จุดเน้นที่  3.     นักเรียนมีสุขภาพกาย  สุขภาพจิตที่ดี  ยิ้มไหว้ทักทาย  มีวินัย  ห่างไกลยาเสพติด  มีจิตสาธารณะ  มีวิถีชีวิตประชาธิปไตย  รักการทำงาน  รักการอ่าน  ใฝ่เรียนรู้
3.3.   มีวินัย
3.5.   มีจิตสาธารณะ
3.7.   รักการทำงาน
จุดเน้นที่  7.     ห้องเรียนคุณภาพ
เน้นกิจกรรมการู้เรียนรู้แบบลงมือปฏิบัติ (Active Learning)  เช่น  การจัดบรรยากาศในห้องเรียน  น่าอยู่  น่าเรียน  ออกแบบการเรียนรู้อิงมาตรฐาน  มีการใช้สื่อเทคโนโลยีในการจัดการเรียนรู้

สนองมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรฐานที่ 1  คุณภาพของผู้เรียน
ประเด็นพิจารณา
1.1  ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน
1) ความสามารถในการอ่าน เขียน การสื่อสาร และการคิดคำนวณตามเกณฑ์ของแต่ละระดับชั้น
2) ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดวิจารณญาณ อภิปราย  แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและแก้ปัญหา
3) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร
1.2   คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน
1) มีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนด โดยไม่ขัดกับกฎหมายและวัฒนธรรมอันดีของสังคม
2) ความภูมิใจในท้องถิ่น และความเป็นไทย
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
          ประเด็นพิจารณา
1) การมีกระบวนการเรียนการสอนที่สร้างโอกาสให้ผู้เรียนทุกคนมีส่วนร่วม

 
ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1.  นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนจิตสำนึกรักษ์สิ่งแวดล้อม มีความรักหวงแหนโรงเรียน มีจิตสาธารณะ  และโรงเรียนมีสภาพแวดล้อมที่ดี  เอื้อต่อการเรียนรู้
 
สรุปคะแนนประเมิน 0.00
ไฟล์ประกอบ
ขั้นเตรียมการ กิจกรรมที่  กิจกรรมปลูกจิตสำนักรักษ์สิ่งแวดล้อม
1.1 ประชุม วางแผนในกลุ่มสาระฯ
1.2      แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานตามกิจกรรม
กิจกรรมที่  2  กิจกรรมรณรงค์ 5ส  สำนักงาน
1.1      ประชุม วางแผนคณะทำงาน
กิจกรรมที่  3  กิจกรรมทำปุ๋ยหมักจากเศษใบไม้และการปลูกผักสวนครัว
1.1      ประชุม วางแผนคณะทำงาน
ขั้นดำเนินการ กิจกรรมที่  กิจกรรมปลูกจิตสำนักรักษ์สิ่งแวดล้อม
2.1   กิจกรรมเสียงตามสายให้ความรู้เรื่องสิ่งแวดล้อม
2.2   กิจกรรมให้ความรู้หน้าเสาธงให้ความรู้เรื่องสิ่งแวดล้อม
2.3   รณรงค์ให้ทานอาหารที่โรงอาหารและไม่นำอาหารขึ้นบนอาคารเรียน
2.4   ประกวดเขียนเรียงความเรื่อง “นักเรียนจะมีส่วนร่วมในการทำให้โรงเรียนสะอาดน่าอยู่ได้อย่างไร”
2.5   ประกวดแผ่นพับรณรงค์ “ผลเสียที่มาจากขยะ”
2.6   ประกวดโปสเตอร์รณรงค์ “5ส”
2.7   ประกวดการพูดรณรงค์  “การรักษาความสะอาดในโรงเรียน”
2.8   ประกวดการทำเว็บเพจเรื่อง “การกำจัดขยะมีพิษ”
2.9   ประกวดหนังสั้นเรื่อง “เยาวชนรุ่นใหม่ใส่ใจสิ่งแวดล้อม”
2.10  ประกวดเขียนเรียนความเรื่อง “โรงเรียนของฉันน่าอยู่”
2.11  ประกวดหนังสั้นเรื่อง “ขยะทองคำ”
2.12  รณรงค์ลดการใช้ (Reduce)
2.13  ประกวดสิ่งประดิษฐ์จากวัสดุเหลือใช้หรือขยะ(Reuse)
2.14  ประกวดการรีไซเคิลวัสดุ (Recycle)
2.15  รณรงค์การซ่อมแซมของใช้ (Repair)
2.16  รณรงค์ปฏิเสธการใช้ (Reject)
2.17  ประกวดห้องเรียนสะอาดน่าเรียน
2.18    ประกวดความสะอาดพื้นที่รับผิดชอ3.1 ประเมินผลการจัดกิจกรรม
กิจกรรมที่  2  กิจกรรมรณรงค์ 5ส  สำนักงาน
2.1   รณรงค์ประชาสัมพันธ์การทำกิจกรรม 5ส สำนักงาน  ในที่ประชุมโรงเรียน
2.2      ประกาศเสียงตามสายรณรงค์ประชาสัมพันธ์การทำกิจกรรม 5ส  สำนักงาน
กิจกรรมที่  3  กิจกรรมทำปุ๋ยหมักจากเศษใบไม้และการปลูกผักสวนครัว
2.1   เก็บสะสมใบไม้
2.2   จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์
2.3      ทำปุ๋ยหมัก  และปลูกผักสวนครัว
ขั้นตรวจสอบประเมินผล กิจกรรมที่  กิจกรรมปลูกจิตสำนักรักษ์สิ่งแวดล้อม
3.1 ประเมินผลการจัดกิจกรรม
3.2      สรุปผลการดำเนินงานกิจกรรม
กิจกรรมที่  2  กิจกรรมรณรงค์ 5ส  สำนักงาน
3.1 ประเมินผลการจัดกิจกรรม
3.2      สรุปผลการดำเนินงานกิจกรรม
กิจกรรมที่  3  กิจกรรมทำปุ๋ยหมักจากเศษใบไม้และการปลูกผักสวนครัว
3.1 ประเมินผลการจัดกิจกรรม
3.2      สรุปผลการดำเนินงานกิจกรรม
ขั้นสรุปและรายงาน กิจกรรมที่  กิจกรรมปลูกจิตสำนักรักษ์สิ่งแวดล้อม
4.1 รายงานผลการดำเนินงานกิจกรรม
4.2  นำปัญหาที่พบไปปรับปรุงพัฒนาในการจัดกิจกรรมครั้งต่อไป
กิจกรรมที่  2  กิจกรรมรณรงค์ 5ส  สำนักงาน
4.1 รายงานผลการดำเนินงานกิจกรรม
กิจกรรมที่  3  กิจกรรมทำปุ๋ยหมักจากเศษใบไม้และการปลูกผักสวนครัว
4.1 รายงานผลการดำเนินงานกิจกรรม
4.2  นำปัญหาที่พบไปปรับปรุงพัฒนาในการจัดกิจกรรมครั้งต่อไป
กิจกรรมที่  3  กิจกรรมทำปุ๋ยหมักจากเศษใบไม้และการปลูกผักสวนครัว
4.1 รายงานผลการดำเนินงานกิจกรรม
4.2  นำปัญหาที่พบไปปรับปรุงพัฒนาในการจัดกิจกรรมครั้งต่อไป

 
งบประมาณ 20,000
การบรรลุตัวชี้วัด  เชิงปริมาณ
1.  นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนทุกคนมีส่วนร่วมในการพัฒนาสิ่งแวดล้อมให้ดีขึ้น
2.  นักเรียนและบุคลากรทุกคนมีวินัย  มีจิตสาธารณะ รักการทำงาน
3.  ห้องเรียน สวนหย่อม ห้องสำนักงานทุกห้อง สะอาดน่าอยู่
เชิงคุณภาพ
1.  นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนจิตสำนึกรักษ์สิ่งแวดล้อม มีความรักหวงแหนโรงเรียน มีจิตสาธารณะ  และโรงเรียนมีสภาพแวดล้อมที่ดี  เอื้อต่อการเรียนรู้

 
ความพึงพอใจ
ปัญหาและอุปสรรค
ข้อเสนอแนะ
รูปภาพประกอบ