โลโก้เว็บไซต์ สารสนเทศสำนักบริหารมัธยมศึกษาตอนปลาย
  PDF

พัฒนาการเรียนการสอนห้องเรียนพิเศษวิทย์-คณิต (ม.ปลาย)

โรงเรียน : สภาราชินี จังหวัดตรัง สพม.ตรัง กระบี่

ประเภท : โรงเรียนมาตรฐานสากล (World-Class Standard School)

ผลการประเมิน : 0.00

เผยแพร่เมื่อ : 24 ส.ค. 2561 โดย : นายธรรมวิวรรชน์ รัตนประทีป จำนวนผู้เข้าชม 88 คน


ชื่อโครงการ/กิจกรรม พัฒนาการเรียนการสอนห้องเรียนพิเศษวิทย์-คณิต (ม.ปลาย)
ประเภท โรงเรียนมาตรฐานสากล (World-Class Standard School)
ปีการศึกษา 2561
มาตรฐาน มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน
     1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน
     1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
     2.2 มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา
     2.3 ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาและทุกกลุ่มเป้าหมาย
     2.5 จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ
     2.6 จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
     3.1 จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงและสามารถนำไปประยุกต็ใช้ในชีวิตได้
     3.2 ใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้
     3.3 มีการบริหารจัดการชั้นเรียบเชิงบวก
     3.4 ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบและนำผลมาพัฒนาผู้เรียน
     3.5 มีการแลกเปลียนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้
ผู้รับผิดชอบ
ความเป็นมา ตามที่รัฐบาลมีนโยบายที่จะสนับสนุนผูมีความสามารถพิเศษดานวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี ตั้งแต่ระดับพื้นฐานถึงอุดมศึกษา ผลักดันให้ประชาชนมีความเข้าใจและตระหนักในความสําคัญของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยียิ่งขึ้น  เพื่อเพิ่มจํานวนตัวป้อนที่มีคุณภาพสูงเข้าสู่การศึกษาระดับอุดมศึกษาจนถึงปริญญาเอก  เพื่อพัฒนาไปสู่ความเป็นนักวิจัย นักประดิษฐ์ นักคิดค้น  ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่มีคุณภาพระดับมาตรฐานโลกต่อไปให้กระจายอยู่ทั่วทุกภูมิภาคนั้น จึงก่อให้เกิดโครงการห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์  ซึ่งเป็นโครงการในความร่วมมือระหว่างสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา   (สกอ.)  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) และสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) เพื่อเป็นการขยายฐานการพัฒนาและส่งเสริมผู้มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของประเทศ โดยใช้หลักสูตรการเรียนการสอนพิเศษ นักเรียนได้รับการพัฒนาและส่งเสริมกิจกรรมทางวิชาการเพิ่มพิเศษ  เช่น การเข้าค่ายวิทยาศาสตร์ ศึกษาดูงาน/ทัศนศึกษา การได้รับการฝึกงานกับนักวิจัยในมหาวิทยาลัย หรือ ในหน่วยงานต่างๆทั้งภาครัฐและเอกชนและได้รับการส่งเสริมการทำโครงงานวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีพร้อมทั้งได้รับการส่งเสริมสนับสนุนให้ไปนำเสนอผลงานทางวิชาการในระดับจังหวัดระดับภาคและระดับประเทศ
วัตถุประสงค์ 2.1  เพื่อพัฒนาและส่งเสริมผู้มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีให้ได้รับการพัฒนาอย่างเต็มตามศักยภาพเพื่อเป็นฐานในการพัฒนากำลังคนด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีของประเทศ
2.2  เพื่อมุ่งเน้นการส่งเสริมการเรียนรู้ตามความสนใจอย่างเต็มตามศักยภาพพร้อมทั้งปลูกฝังให้มีเจตคติทางวิทยาศาสตร์
 
เป้าหมาย 1  ด้านปริมาณ
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.4-6)  โครงการห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ ได้ร่วมกิจกรรม  100 %
2  ด้านคุณภาพ
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.4-6)  โครงการห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ ได้รับการส่งเสริมการเรียนรู้ตามความสนใจอย่างเต็มตามศักยภาพพร้อมทั้งปลูกฝังให้มีเจตคติทางวิทยาศาสตร์
ระยะเวลา 24 ส.ค. 2561 - 24 ส.ค. 2561
สถานที่ดำเนินการ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าแม่น้ำภาชี จ.ราชบุรี,จ.นครราชสีมา และกรุงเทพฯ,วัดนิโครธาราม จ.ตรัง,ไร่ดาวเด่นรีสอร์ท จ.สระบุรี
ตัวชี้วัด 1.นักเรียนกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม 100 %
2.นักเรียนมีเจตคติที่ดี รักและสนใจ กิจกรรมทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์
ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1  นักเรียนมีเจตคติที่ดี รักและสนใจกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์
2  นักเรียนมีทักษะทางวิทยาศาสตร์ มีความคิดสร้างสรรค์ในการทำกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์
3 นักเรียนได้แสดงออกซึ่งความสามารถทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์
 
สรุปคะแนนประเมิน 0.00
ไฟล์ประกอบ
ขั้นเตรียมการ
ขั้นดำเนินการ
ขั้นตรวจสอบประเมินผล
ขั้นสรุปและรายงาน
งบประมาณ ตาราง 1 การใช้จ่ายงบประมาณ
รายการ งบประมาณที่กำหนดไว้ในแผน งบประมาณที่ใช้จ่ายจริง
1.เงินอุดหนุนการศึกษา    
2.เงินรายได้สถานศึกษา    
3.อื่นๆ    
รวม    
คงเหลือ  
การบรรลุตัวชี้วัด 1.ผลสำเร็จตามตัวชี้วัดความสำเร็จ
ตัวชี้วัดความสำเร็จ ร้อยละของผลสำเร็จ
เป้าหมาย ผลการดำเนิน
1.    
2.    
3.    
4.    
2. สรุปผลสำเร็จของโครงการ
    ผลสำเร็จของโครงการโดยรวม                               คิดเป็นร้อยละ ..................
    ระดับความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการโดยรวม      มีค่าเฉลี่ย ..................
                                                                          อยู่ในระดับ ..................
    เกณฑ์การสรุปผลค่าเฉลี่ยของระดับความพึงพอใจ
             ค่าเฉลี่ย ......................... หมายถึง ระดับ ............
             ค่าเฉลี่ย ......................... หมายถึง ระดับ ............
             ค่าเฉลี่ย ......................... หมายถึง ระดับ ............
             ค่าเฉลี่ย ......................... หมายถึง ระดับ ............
             ค่าเฉลี่ย ......................... หมายถึง ระดับ ............
ความพึงพอใจ ตาราง 2 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม/แบบประเมิน
ข้อมูลทั่วไป จำนวน (คน) ร้อยละ
1. เพศ
    1.1 ชาย
    1.2 หญิง

23
22

2
3
รวม 23 22
2. อายุ
    2.1 น้อยกว่า 25 ปี
    2.2 25-35 ปี
    2.3 36-45 ปี
    2.4 มากกว่า 45 ปี

1
2
3
4

3
4
5
5
รวม 23 34
จากตาราง 2 พบว่า ผู้เข้าร่วมโครงการ/กิจกรรม ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงมีจำนวน ............. คน (ร้อยละ …………….) อายุ 25-35 ปี มีจำนวน ............ คน (ร้อยละ .............) รองลงมา 36-45 ปี มีจำนวน ............ คน (ร้อยละ ...............) ฯลฯ ตอนที่ 3 ความพึงพอใจในของผู้เข้าร่วมโครงการ/กิจกรรม
รายการประเมิน S.D. ร้อยละ ระดับความพึงพอใจ
1.
2.
3.
4.
5.
       
รวม        
จากตาราง 3 พบว่า ผู้เข้าร่วมโครงการ/กิจกรรม มีความพึงพอใจในการจัดโครงการในภาพรวม อยู่ในระดับ ................ มีค่าคะแนนเฉลี่ย ................... (ร้อยละ ................) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านหรือราข้อ พบว่า ผู้เข้าร่วมโครงการ/กิจกรรม มีความพึงพอใจในด้าน ................................. หรือ ข้อคำถาม .................. ในระดับ ................ มีค่าคะแนนเฉลี่ย ................... (ร้อยละ ................) ฯลฯ
ปัญหาและอุปสรรค
ข้อเสนอแนะ
รูปภาพประกอบ

ออกแบบและพัฒนาโดย สารสนเทศสำนักบริหารการมัธยมศึกษา SESA 2.0