โลโก้เว็บไซต์ สารสนเทศสำนักบริหารมัธยมศึกษาตอนปลาย
  PDF

ศึกษาแหล่งเรียนรู้วัฒนธรรมจีน

โรงเรียน : สภาราชินี จังหวัดตรัง สพม.ตรัง กระบี่

ประเภท : โรงเรียนมาตรฐานสากล (World-Class Standard School)

ผลการประเมิน : 0.00

เผยแพร่เมื่อ : 24 ส.ค. 2561 โดย : นายธรรมวิวรรชน์ รัตนประทีป จำนวนผู้เข้าชม 66 คน


ชื่อโครงการ/กิจกรรม ศึกษาแหล่งเรียนรู้วัฒนธรรมจีน
ประเภท โรงเรียนมาตรฐานสากล (World-Class Standard School)
ปีการศึกษา 2561
มาตรฐาน มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน
     1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน
     1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
     2.5 จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
     3.1 จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงและสามารถนำไปประยุกต็ใช้ในชีวิตได้
     3.2 ใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้
     3.3 มีการบริหารจัดการชั้นเรียบเชิงบวก
     3.4 ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบและนำผลมาพัฒนาผู้เรียน
     3.5 มีการแลกเปลียนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้
ผู้รับผิดชอบ
ความเป็นมา กระทรวงศึกษาธิการได้วางยุทธศาสตร์ให้ผู้เรียนสังกัดสำนักงานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เรียนภาษาต่างประเทศนอกเหนือจากภาษาอังกฤษ เช่นภาษาจีน ภาษามลายู ภาษาเกาหลี เป็นต้น ในส่วนของภาษาจีนโรงเรียนสภาราชินี จังหวัดตรังได้จัดหลักสูตรภาษาจีนให้กับนักเรียนในทุกระดับชั้นได้เปิดโปรแกรมภาษาจีนสำหรับนักเรียนที่มีความสนใจ ดังนั้นการจัดให้นักเรียนได้เรียนรู้วัฒนธรรมประเพณีของชาวจีนเป็น การสร้างเจตคติที่ดีในการเรียนภาษาจีน
 
วัตถุประสงค์
  1. 1.เพื่อสร้างเจตคติต่อการเรียนภาษาจีน
  2. 2.เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาจีนให้สูงขึ้น
  3. 3.เพื่อพัฒนาทักษะการฟัง พูด อ่าน เขียน และการวิเคราะห์ ในการเรียนภาษาจีน
เป้าหมาย 1  ด้านปริมาณ         
1.1  เชิงปริมาณ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 โปรแกรมภาษาจีน จำนวน 171 คน
1.2  เชิงคุณภาพ นักเรียนร้อยละ 90 ได้เข้าร่วมกิจกรรมศึกษาแหล่งเรียนรู้วัฒนธรรมจีน
2   ด้านคุณภาพ
2.1  นักเรียนมีเจตคติที่ดีต่อการเรียนภาษาจีนอยู่ในระดับดี
2.2  นักเรียนร้อยละ 85 มีผลสัมฤทธิ์ในการเรียนภาษาจีนเพิ่มขึ้น
2.3  นักเรียนมีทักษะการคิดวิเคราะห์ในการเรียนภาษาจีนเพิ่มขึ้น
ระยะเวลา 24 ส.ค. 2561 - 24 ส.ค. 2561
สถานที่ดำเนินการ จังหวัดสุพรรณบุรีและจังหวัดใกล้เคียง
ตัวชี้วัด 1.นักเรียนมีทักษะการสื่อสารภาษาจีนที่ดีขึ้น
2.นักเรียนสามารถพัฒนาศักยภาพ ในการเรียนภาษาจีน
3.นักเรียนมีทักษะหรือประสบการณ์ตรงทางการเรียนภาษาจีน
4.ส่งเสริมและจัดกิจกรรมที่หลากหลายให้ตรงตามศักยภาพของนักเรียน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1  นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะประสบการณ์ทางการเรียนภาษาจีนและสามารถเข้าแข่งขันในระดับชาติได้
2  นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาจีนให้สูงขึ้นส่งผลให้คะแนนเฉลี่ยจากการทดสอบระดับชาติสูงขึ้น
3  นักเรียนมีเจตคติที่ดีในการเรียนภาษาจีน
 
สรุปคะแนนประเมิน 0.00
ไฟล์ประกอบ
ขั้นเตรียมการ
ขั้นดำเนินการ
ขั้นตรวจสอบประเมินผล
ขั้นสรุปและรายงาน
งบประมาณ ตาราง 1 การใช้จ่ายงบประมาณ
รายการ งบประมาณที่กำหนดไว้ในแผน งบประมาณที่ใช้จ่ายจริง
1.เงินอุดหนุนการศึกษา    
2.เงินรายได้สถานศึกษา    
3.อื่นๆ    
รวม    
คงเหลือ  
การบรรลุตัวชี้วัด 1.ผลสำเร็จตามตัวชี้วัดความสำเร็จ
ตัวชี้วัดความสำเร็จ ร้อยละของผลสำเร็จ
เป้าหมาย ผลการดำเนิน
1.    
2.    
3.    
4.    
2. สรุปผลสำเร็จของโครงการ
    ผลสำเร็จของโครงการโดยรวม                               คิดเป็นร้อยละ ..................
    ระดับความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการโดยรวม      มีค่าเฉลี่ย ..................
                                                                          อยู่ในระดับ ..................
    เกณฑ์การสรุปผลค่าเฉลี่ยของระดับความพึงพอใจ
             ค่าเฉลี่ย ......................... หมายถึง ระดับ ............
             ค่าเฉลี่ย ......................... หมายถึง ระดับ ............
             ค่าเฉลี่ย ......................... หมายถึง ระดับ ............
             ค่าเฉลี่ย ......................... หมายถึง ระดับ ............
             ค่าเฉลี่ย ......................... หมายถึง ระดับ ............
ความพึงพอใจ ตาราง 2 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม/แบบประเมิน
ข้อมูลทั่วไป จำนวน (คน) ร้อยละ
1. เพศ
    1.1 ชาย
    1.2 หญิง

23
22

2
3
รวม 23 22
2. อายุ
    2.1 น้อยกว่า 25 ปี
    2.2 25-35 ปี
    2.3 36-45 ปี
    2.4 มากกว่า 45 ปี

1
2
3
4

3
4
5
5
รวม 23 34
จากตาราง 2 พบว่า ผู้เข้าร่วมโครงการ/กิจกรรม ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงมีจำนวน ............. คน (ร้อยละ …………….) อายุ 25-35 ปี มีจำนวน ............ คน (ร้อยละ .............) รองลงมา 36-45 ปี มีจำนวน ............ คน (ร้อยละ ...............) ฯลฯ ตอนที่ 3 ความพึงพอใจในของผู้เข้าร่วมโครงการ/กิจกรรม
รายการประเมิน S.D. ร้อยละ ระดับความพึงพอใจ
1.
2.
3.
4.
5.
       
รวม        
จากตาราง 3 พบว่า ผู้เข้าร่วมโครงการ/กิจกรรม มีความพึงพอใจในการจัดโครงการในภาพรวม อยู่ในระดับ ................ มีค่าคะแนนเฉลี่ย ................... (ร้อยละ ................) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านหรือราข้อ พบว่า ผู้เข้าร่วมโครงการ/กิจกรรม มีความพึงพอใจในด้าน ................................. หรือ ข้อคำถาม .................. ในระดับ ................ มีค่าคะแนนเฉลี่ย ................... (ร้อยละ ................) ฯลฯ
ปัญหาและอุปสรรค
ข้อเสนอแนะ
รูปภาพประกอบ

ออกแบบและพัฒนาโดย สารสนเทศสำนักบริหารการมัธยมศึกษา SESA 2.0