โรงเรียน : โป่งหลวงวิทยา รัชมังคลาภิเษก สพม.ลำปาง ลำพูน
ประเภท : โรงเรียนเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาลในสถานศึกษา(โรงเรียนสุจริต)
ผลการประเมิน : 0.00
เผยแพร่เมื่อ : 28 ส.ค. 2561 โดย : นางเกษิณี กันน้อม จำนวนผู้เข้าชม 223 คน
ชื่อโครงการ/กิจกรรม | การเสริมสร้างเครือข่ายโรงเรียนสุขภาวะเพื่อสุขภาวะเด็กและเยาวชน | ||||||||||||||||||
ประเภท | โรงเรียนเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาลในสถานศึกษา(โรงเรียนสุจริต) | ||||||||||||||||||
ปีการศึกษา | 2560 | ||||||||||||||||||
มาตรฐาน |
3.1 จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงและสามารถนำไปประยุกต็ใช้ในชีวิตได้ |
||||||||||||||||||
ผู้รับผิดชอบ | |||||||||||||||||||
ความเป็นมา |
|
||||||||||||||||||
วัตถุประสงค์ | - เพื่อส่งเสริมสุขภาพและป้องกันปัญหาสุขภาพในวัยรุ่น - เพื่อจัดกิจกรรมตามนโยบายลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ - เพื่อให้นักเรียนเกิดทักษะการเรียนรู้ครบทั้ง 4 ด้าน - เพื่อส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมให้นักเรียน - เพื่อสร้างผู้นำเยาวชนในการต่อต้านและป้องกันการแพร่ระบาดของยาเสพติด |
||||||||||||||||||
เป้าหมาย | 1. เป้าหมายเชิงปริมาณ ......นักเรียนแกนนำร้อยละ 90 สร้างเครือข่ายเพื่อนช่วยเพื่อน / พี่ช่วยน้องในโรงเรียน นักเรียนร้อยละ 80.มีเอกสารกิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ครบทั้ง 4 h นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นเข้าร่วมกิจกรรมครบทุกคน นักเรียนได้เรียนรู้ทักษะในการเรียนรู้ครบทั้ง 4 ด้าน นักเรียนร้อยละ 80 มีความรู้ความเข้าใจด้านคุณธรรมจริยธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน นักเรียนร้อยละ 80 มี ความรู้ความเข้าใจการป้องกันปัญหายาเสพติด 2. เป้าหมายเชิงคุณภาพ ......นักเรียนแกนนำสร้างเครือข่ายเพื่อนช่วยเพื่อน / พี่ช่วยน้องในโรงเรียน มีการพัฒนาและสร้างความยั่งยืน นักเรียนมีทักษะในการเรียนรู้ 4 h อย่างครบถ้วนเหมาะสม นักเรียนนำความรู้ความเข้าใจด้านคุณธรรมจริยธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน นักเรียน มีความรู้ความเข้าใจถึงโทษของยาเสพติดและมีทักษะการปฏิบัติ ระยะเวลาดำเนินงาน 15 สิงหาคม 2559 ถึง 20 กันยายน 2560 |
||||||||||||||||||
ระยะเวลา | 15 ส.ค. 2560 - 20 ก.ย. 2561 | ||||||||||||||||||
สถานที่ดำเนินการ | โรงเรียนโป่งหลวงวิทยา รัชมังคลาภิเษก | ||||||||||||||||||
ตัวชี้วัด | นักเรียนได้เรียนรู้ทักษะในการเรียนรู้ครบทั้ง 4 ด้าน นักเรียนแกนนำสร้างเครือข่ายเพื่อนช่วยเพื่อน / พี่ช่วยน้องในโรงเรียน มีการพัฒนาและสร้างความยั่งยืน นักเรียนมีทักษะในการเรียนรู้ 4 h อย่างครบถ้วนเหมาะสม นักเรียน มีความรู้ความเข้าใจด้านคุณธรรมจริยธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน นักเรียนนำความรู้ความเข้าใจด้านคุณธรรมจริยธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน นักเรียน มีความรู้ความเข้าใจการป้องกันปัญหายาเสพติด นักเรียน มีความรู้ความเข้าใจถึงโทษของยาเสพติดและมีทักษะการปฏิบัติ |
||||||||||||||||||
ผลที่คาดว่าจะได้รับ | โครงการที่ 1.1 1. เครือข่ายเพื่อนช่วยเพื่อน มีความเข้มแข็ง 2. ครูประจำชั้น/ครูที่ปรึกษา นักเรียน ผู้ปกครอง มีความเข้าใจที่ดีต่อกัน 3. นักเรียนเพื่อนที่ปรึกษา ได้ให้คำปรึกษาแก่เพื่อนนักเรียน 4. นักเรียนโรงเรียนโป่งหลวงวิทยา รัชมังคลาภิเษก จำนวน 160 คน มีพฤติกรรมด้านการ เรียน ด้านพฤติกรรม ด้านสังคมที่ดี 5. นักเรียนมีทักษะชีวิตที่ดี เพิ่มโอกาสทางการศึกษามากขึ้น โครงการที่ 1.2 1. มีกิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ 2. นักเรียนได้เรียนรู้ทักษะจากการทำกิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ครบทั้ง 4 ด้าน โครงการที่ 3 1.นักเรียนนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน 2. นักเรียนสามารถฝึกปฏิบัติได้ถูกต้อง โครงการที่ 4 1.นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจถึงปัญหาและพิษภัยของยาเสพติด 2. เกิดแกนนำในการต่อต้านและป้องกันการแพร่ระบาดของยาเสพติดในโรงเรียนและชุมชน |
||||||||||||||||||
สรุปคะแนนประเมิน | 0.00 | ||||||||||||||||||
ไฟล์ประกอบ |
รายงานวิจัยสมบูรณ์สสส.โรงเรียน.โป่งหลวงวิทยา |
||||||||||||||||||
ขั้นเตรียมการ | ประชุม ผู้บริหาร ตัวแทนคุณครูที่เกี่ยวข้อง ตัวแทนผู้ปกครอง ตัวแทนกรรมการสถานศึกษา |
||||||||||||||||||
ขั้นดำเนินการ | 1) ประชุมชี้แจงวัตถุประสงค์ ทิศทางการด าเนินงานโครงการ แก่ ผู้บริหาร ครู นักเรียน 2) จัดประชุมชี้แจงผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในโรงเรียน เพื่อรับฟังความคิดเห็น สร้างความมั่นใจในการทำงาน และตัดสินใจร่วมกัน (ผู้บริหาร ครู นักเรียนบุคลากรในโรงเรียน ผู้ปกครอง กรรมการสถานศึกษา ผู้นำชุมชน ฯลฯ) 3) โรงเรียนจัดตั้งคณะทำงานผู้รับผิดชอบโครงการโรงเรียนสุขภาวะ 4) โรงเรียนรวบรวมข้อมูลพื้นฐานของโรงเรียน ชุมชน ภาคี เครือข่าย 5) ทำการสำรวจข้อมูลโรงเรียนโดยใช้แบบประเมินของ สสส. 6) โรงเรียนจัดประชุมชุมชน ภาคี เครือข่าย ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เพื่อวิเคราะห์ประเด็นปัจจัยเสี่ยงตาม ประเด็นสุขภาวะ 7) โรงเรียนจัดประชุมคณะทำงานระดับโรงเรียน เพื่อวางแผนและจัดทำร่างโครงการย่อยตามประเด็นสุขภาวะ นำเสนอต่อคณะท างานโครงการฯ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง 8) โรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯส่งตัวแทนร่วมพิจารณาโครงการกับคณะท างานโครงการของ มรภ. ล าปาง และจัดท าสัญญา 9) ท าการประเมินก่อนการด าเนินกิจกรรม (Pre-test) และประเมินภายหลังการจัดกิจกรรม (Post-test) 10) โรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯด าเนินกิจกรรมตามแผนด าเนินงานของโครงการ 11) ผู้บริหารของโรงเรียนเอื้อให้เกิดวงพบปะพูดคุยแลกเปลี่ยน (PLC) ระหว่างคุณครูในโรงเรียนเกี่ยวกับ การผลการด าเนินงานตามโครงการโรงเรียนสุขภาวะ 12) จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อก าหนดกลไกการท างานร่วมกันระหว่างเครือข่ายโรงเรียน การถอด บทเรียนระหว่างเครือข่ายโรงเรียน และการจัดการองค์ความรู้ที่ได้ (Knowledge management) (โรงเรียนก าหนดกันเองตามความเหมาะสมเพื่อให้สอดรับกับการถอดบทเรียนเวทีใหญ่ที่จะจัดขึ้น ระหว่างเดือนพฤษภาคม-มิถุนายน) 13) โรงเรียนรับการนิเทศ ติดตาม ประเมินผลการให้ค าปรึกษาการด าเนินงานของโรงเรียนจาก คณะท างานโครงการฯ มหาวิทยาลัยราชภัฏล าปางอย่างน้อย 2 ครั้ง 14) เข้าร่วมถอดบทเรียนกับโรงเรียนเครือข่ายทั้ง 50 โรงเรียน (จัดโดยคณะท างานโครงการฯ มหาวิทยาลัยราชภัฏล าปาง ซึ่งจะจัดขึ้นระหว่างเดือนพฤษภาคม-มิถุนายน) 15) ร่วมจัดนิทรรศการแสดงผลงานตามเป้าหมายองค์ประกอบ 5 ด้านของโรงเรียนสุขภาวะ (จัดโดย คณะท างานโครงการฯมหาวิทยาลัยราชภัฏล าปาง โดยทางโรงเรียนเตรียมนวัตกรรมที่จะน าเสนอใน งาน ซึ่งจะจัดขึ้นระหว่างเดือนพฤษภาคม-มิถุนายน โดยทางมหาวิทยาลัยราชภัฏล าปางจะอ านวย ความสะดวกเรื่องสถานที่ โต๊ะ เก้าอี้ และค่าเดินทางในลักษณะการเดินทางร่วมกัน 1 คันรถต่อ 1 โรงเรียน โดยค านวณจากระยะทางจริง) 16) รายงานความก้าวหน้า 1 ครั้ง รายงานฉบับสมบูรณ์ 1 ครั้ง |
||||||||||||||||||
ขั้นตรวจสอบประเมินผล | การสังเกตการมีส่วนร่วม บันทึกการประชุม คำสั่งแต่งตั้งคณะทำงาน แผนสุขภาวะที่เกิดจากกระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง ชุมชน 1) การพูดคุยแลกเปลี่ยน 2) การถอดบทเรียน 1) การพูดคุยแลกเปลี่ยน 2) การถอดบทเรียน 1) สังเกตพฤติกรรม 2) การมีส่วนร่วมของชุมชน 3) หลักฐาน คำสั่งแต่งตั้ง กฎ มาตรการที่โรงเรียนได้กำหนดการกำหนดมาตรการด้านโภชนาการ และ เหล้า บุหรี่ สิ่งเสพติด เพศสัมพันธ์ และอบายมุขต่างๆ เพื่อเป็นแนวปฏิบัติที่ดีสำหรับโรงเรียนการ 1) สังเกตการมีส่วนร่วม 2) ความรู้ ความเข้าใจของนักเรียน 3) ความพึงพอใจต่อกิจกรรม วิธีวัดและประเมินผล 1) สังเกตการมีส่วนร่วมความกระตือรือร้นของนักเรียน 2) การมีส่วนร่วมของชุมชน 4) ความพึงพอใจต่อกิจกรรม 1) ความถี่ของการฝึกซ้อมกีฬาความมีวินัยความกระตือรือร้นของนักเรียน 2) ความพึงพอใจต่อกิจกรรม 1) สังเกตการมีส่วนร่วม 2) ความถี่ของการฝึกซ้อมดนตรี 3) ความพึงพอใจต่อกิจกรรม 1) การมีส่วนร่วมในกิจกรรมอย่างสม่ำเสมอ 2) เอกสารกิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ครบทั้ง 4 h 3)ผลผลิตที่ได้จากการปลูกพืชผักสวนครัวปลอดภัย 1) สังเกตการณ์มีส่วนร่วมของนักเรียน 2) สมุดบันทึกความดีของนักเรียน 1) องค์ความรู้ที่ได้จากการถอดบทเรียนร่วมกับอีก 49 โรงเรียน 1) การเรียนรู้ร่วมกันถึงนวัตกรรมที่จะนำไปสู่การลดพฤติกรรมเสียงของนักเรียน |
||||||||||||||||||
ขั้นสรุปและรายงาน | สรุปผล 1. กิจกรรมเพื่อนช่วยเพื่อน เพื่อส่งเสริมสุขภาพและป้องกันปัญาสุขภาพในวัยรุ่น นักเรียน บุคลากรในโรงเรียนและชุมชน เอาใจใส่ช่วยเหลือดูแลนักเรียน ป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยเรียน ได้ร้อยละ 100 2. กิจกรรม ค่ายคุณธรรม เพื่อส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนและชุมชน จัดอบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการด้านคุณธรรมจริยธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่น เช่น งานบรรพชา และ ทำตุง 12 นักษัตร ร้อยละ 80 3. กิจกรรม ค่ายเยาวชนรวมใจต้านภัยยาเสพติดในโรงเรียน เพื่อส่งเสริมความรู้ความเข้าใจและป้องกันปัญหายาเสพติดให้โทษ นักเรียนมีความตระหนัก รู้และเข้าใจถึงโทษของยาเสพติด ร้อยละ 80 4. กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีทักษะในทำงาน แสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักเรียนรู้ และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง คิดสร้างสรรค์ ตัดสินใจแก้ปัญหาอย่างมีสติ ร้อยละ80 จากการเข้าร่วมโครงการ การเสริมสร้างเครือข่ายโรงเรียนสุขภาวะเพื่อสุขภาวะเด็กและเยาวชนจังหวัดลำปาง ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ทำให้นักเรียนและเยาวชนตลอดจนผุ้ปกครองมีสุขภาวะที่ดีขึ้น จากการดำเนินงาน ได้จัดกิจกรรมบูรณาการกับกลุ่มสาระต่าง ๆ เพื่อนำความรู้และทักษะไปใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างมีประสิทธิภาพมากที่สุด |
||||||||||||||||||
งบประมาณ | ตาราง 1 การใช้จ่ายงบประมาณ
|
||||||||||||||||||
การบรรลุตัวชี้วัด | 1.ผลสำเร็จตามตัวชี้วัดความสำเร็จ
ผลสำเร็จของโครงการโดยรวม คิดเป็นร้อยละ .........85......... ระดับความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการโดยรวม มีค่าเฉลี่ย ......80............ อยู่ในระดับ .....ดี............. เกณฑ์การสรุปผลค่าเฉลี่ยของระดับความพึงพอใจ ค่าเฉลี่ย .........81...100......... หมายถึง ระดับ ....ดีมาก..... ค่าเฉลี่ย .........61-80............. หมายถึง ระดับ ....ดี....... ค่าเฉลี่ย .........41-60............ หมายถึง ระดับ ...ปานกลาง. ค่าเฉลี่ย .........21-40.............. หมายถึง ระดับ...พอใช้..... ค่าเฉลี่ย ........1-20............... หมายถึง ระดับ ...ปรับปรุง... |
||||||||||||||||||
ความพึงพอใจ | โรงเรียนสุขภาวะ ลำปาง 5 4 3 2 1 x-bar s.d. ด้านที่ 1 ผู้เรียนเป็นสุข 78.5 17.2 3.4 0.9 0 4.73 0.56 ด้านที่ 2 โรงเรียนเป็นสุข 84.2 13.0 2.8 0.0 0 4.81 0.46 ด้านที่ 3 สภาพแวดล้อมเป็นสุข 77.4 17.1 4.5 0.9 0 4.71 0.59 ด้านที่ 4 ต้านครอบครัวเป็นสุข 80.5 16.1 2.9 0.5 0 4.77 0.52 ด้านที่ 5 ชุมชนเป็นสุข 70.0 20.9 7.0 2.1 0 4.59 0.71 รวม 79.5 16.1 3.7 0.7 0.0 4.74 0.55 ผู้เข้าร่วมโครงการ/กิจกรรม มีความพึงพอใจในการจัดโครงการในภาพรวม อยู่ในระดับ ........ดี........ มีค่าคะแนนเฉลี่ย ....0.55..... (ร้อยละ ...79.5...) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านหรือรายข้อ พบว่า ผู้เข้าร่วมโครงการ/กิจกรรม มีความพึงพอใจในด้าน ................. หรือ ข้อคำถาม ....โรงเรียนเป็นสุข.............. ในระดับ .....ดีมาก........... มีค่าคะแนนเฉลี่ย ................... (ร้อยละ ......84.2..........) ฯลฯ | ||||||||||||||||||
ปัญหาและอุปสรรค | - | ||||||||||||||||||
ข้อเสนอแนะ | - | ||||||||||||||||||
รูปภาพประกอบ |
|