ชื่อโครงการ/กิจกรรม |
โครงการโรงเรียนสุจริต |
ประเภท |
โรงเรียนเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาลในสถานศึกษา(โรงเรียนสุจริต) |
ปีการศึกษา |
2563 |
มาตรฐาน |
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน
1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน 1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน
3.1 จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงและสามารถนำไปประยุกต็ใช้ในชีวิตได้ 3.2 ใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ 3.3 มีการบริหารจัดการชั้นเรียบเชิงบวก 3.4 ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบและนำผลมาพัฒนาผู้เรียน 3.5 มีการแลกเปลียนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ |
ผู้รับผิดชอบ |
|
ความเป็นมา |
โครงการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมและธรรมาภิบาลในสถานศึกษา “ป้องกันการทุจริต” (ภายใต้ชื่อ
โรงเรียนสุจริต) เกิดขึ้นเนื่องจาก ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันปราบปรามการทุจริต ได้กำหนดวิสัยทัศน์ว่า
“สังคมไทยมีวินัย โปร่งใส ยึดมั่นในคุณธรรม จริยธรรม และร่วมกันป้องกันและปราบปรามการทุจริต เป็นที่
ยอมรับในระดับสากล” มีเป้าหมายหลักในการลดปัญหาการทุจริตในสังคมไทยและยกระดับคุณธรรม จริยธรรม
ของคนไทยให้สูงขึ้น อันจะส่งผลต่อค่าดัชนีชี้วัดภาพลักษณ์คอร์รัปชั่นของประเทศไทยให้สูงขึ้น
จะเห็นได้ว่าปัญหาการทุจริตคอร์รัปชั่น ยังคงเป็นประเด็นปัญหาที่น่าเป็นห่วง และเป็นอุปสรรคสำคัญต่อ
การพัฒนาประเทศ งานโครงการโรงเรียนสุจริตได้ตระหนักในความสำคัญในการวางรากฐานการปลูกจิตสำนึก
ให้แก่เยาวชนของชาติซึ่งเป็นกลไกในการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในสถานศึกษาและของประเทศชาติใน
อนาคต โดยมีพันธกิจว่าด้วยการป้องกันการทุจริตคือ องค์กรแห่งการเรียนรู้ ปลอดอบายมุข ร่วมป้องกันทุจริต
มีความรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง มีทักษะกระบวนการคิด มีวินัย ซื่อสัตย์ อยู่อย่างพอเพียง มีจิตสาธารณะ และยึด
มั่นในคุณธรรม จริยธรรม ควบคู่กับการพัฒนา ครู ผู้บริหาร โดยให้มีบทบาทในกระบวนการดำเนินงานอย่างมี
ส่วนร่วม โปร่งใส เสมอภาคและเป็นธรรม
โครงการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมและธรรมาภิบาลในสถานศึกษา “ป้องกันการทุจริต” (ภายใต้ชื่อ
โรงเรียนสุจริต) เกิดขึ้นเนื่องจาก ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันปราบปรามการทุจริต ได้กำหนดวิสัยทัศน์ว่า
“สังคมไทยมีวินัย โปร่งใส ยึดมั่นในคุณธรรม จริยธรรม และร่วมกันป้องกันและปราบปรามการทุจริต เป็นที่
ยอมรับในระดับสากล” มีเป้าหมายหลักในการลดปัญหาการทุจริตในสังคมไทยและยกระดับคุณธรรม จริยธรรม
ของคนไทยให้สูงขึ้น อันจะส่งผลต่อค่าดัชนีชี้วัดภาพลักษณ์คอร์รัปชั่นของประเทศไทยให้สูงขึ้น
จะเห็นได้ว่าปัญหาการทุจริตคอร์รัปชั่น ยังคงเป็นประเด็นปัญหาที่น่าเป็นห่วง และเป็นอุปสรรคสำคัญต่อ
การพัฒนาประเทศ งานโครงการโรงเรียนสุจริตได้ตระหนักในความสำคัญในการวางรากฐานการปลูกจิตสำนึก
ให้แก่เยาวชนของชาติซึ่งเป็นกลไกในการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในสถานศึกษาและของประเทศชาติใน
อนาคต โดยมีพันธกิจว่าด้วยการป้องกันการทุจริตคือ องค์กรแห่งการเรียนรู้ ปลอดอบายมุข ร่วมป้องกันทุจริต
มีความรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง มีทักษะกระบวนการคิด มีวินัย ซื่อสัตย์ อยู่อย่างพอเพียง มีจิตสาธารณะ และยึด
มั่นในคุณธรรม จริยธรรม ควบคู่กับการพัฒนา ครู ผู้บริหาร โดยให้มีบทบาทในกระบวนการดำเนินงานอย่างมี
ส่วนร่วม โปร่งใส เสมอภาคและเป็นธรรม
|
วัตถุประสงค์ |
2.1 เพื่อให้ผู้เรียนมีกระบวนการเรียนรู้ที่เท่าทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคมในศตวรรษที่ 21
2.2 เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะกระบวนการคิด อย่างมีวิจารณญาณ
2.2 เพื่อให้ผู้เรียนมีวินัย ซื่อสัตย์ อยู่อย่างพอเพียง มีจิตสาธารณะ ปลอดอบายมุข ยึดมั่นในคุณธรรม จริยธรรมและ
ป้องกันการทุจริต
2.2 เพื่อให้ผู้บริหาร ครู นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชน มีส่วนร่วมในการป้องกันและปราบปรามการทุจริต
|
เป้าหมาย |
เชิงปริมาณ ผู้เรียนจำนวน 530 คน ครู 40 คน ได้รับการพัฒนาให้มีความรู้,ทักษะและค่านิยมตามคุณลักษณะของโรงเรียนสุจริต
เชิงคุณภาพ ผู้เรียน ครู ผู้ปกครอง มีความรู้,ทักษะและค่านิยมตามเป้าหมายที่โรงเรียนสุจริตกำหนด
|
ระยะเวลา |
30 ก.ค. 2563 - 30 ก.ค. 2563 |
สถานที่ดำเนินการ |
โรงเรียนท่าวุ้งวิทยาคาร |
ตัวชี้วัด |
1. ผู้เรียนมีความสามารถในการคิด
คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยน
ความคิดเห็นโดยใช้เหตุผลประกอบการตัดสินใจและแก้ปัญหาได้
2. ผู้เรียนมีความเป็นพลเมือง (Civic Education)สร้างภูมิคุ้มกันหรือป้องปรามการทุจริตคอร์รัปชั่นในการอยู่ร่วมกันในสังคมพหุวัฒนธรรม
3. ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะพื้นฐานและเจตคติที่ดีพร้อมที่จะศึกษาต่อในระดับชั้นที่สูงขึ้น
4. ผู้เรียนมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีสูงกว่าเป้าหมายที่สถานศึกษากำหนด
|
ผลที่คาดว่าจะได้รับ |
1. ผู้เรียนมีความสามารถในการคิด
คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยน
ความคิดเห็นโดยใช้เหตุผลประกอบการตัดสินใจและแก้ปัญหาได้
2. ผู้เรียนมีความเป็นพลเมือง (Civic Education)สร้างภูมิคุ้มกันหรือป้องปรามการทุจริตคอร์รัปชั่นในการอยู่ร่วมกันในสังคมพหุวัฒนธรรม
3. ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะพื้นฐานและเจตคติที่ดีพร้อมที่จะศึกษาต่อในระดับชั้นที่สูงขึ้น
4. ผู้เรียนมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีสูงกว่าเป้าหมายที่สถานศึกษากำหนด
|
สรุปคะแนนประเมิน |
0.00 |
ไฟล์ประกอบ |
|
ขั้นเตรียมการ |
เสนอกิจกรรมขออนุมัติ
แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน |
ขั้นดำเนินการ |
ดำเนินการตามแผน
-คัดเลือกนักเรียน ปปช.น้อย
-นักเรียน ปปช.น้อยและครูประชุม
กำหนดกิจกรรม
-นักเรียน ปปช.น้อยจัดกิจกรรมออนไลน์
ต้านทุจริต
-นักเรียน ปปช.น้อยจัดกิจกรรม
แลกเปลี่ยนเรียนรู้การต่อต้านทุจริต |
ขั้นตรวจสอบประเมินผล |
-นิเทศ ติดตามเริ่ม /ระหว่าง สิ้นสุด
กิจกรรม
-ประเมินผล/รายงานกิจกรรม/จัดทำรูปเล่ม |
ขั้นสรุปและรายงาน |
-นิเทศ ติดตาม /เริ่ม /ระหว่าง สิ้นสุด
กิจกรรม
-ประเมินผล/รายงานกิจกรรม/จัดทำ
รูปเล่ม
|
งบประมาณ |
- |
การบรรลุตัวชี้วัด |
ดีมาก |
ความพึงพอใจ |
ดีมาก |
ปัญหาและอุปสรรค |
- |
ข้อเสนอแนะ |
- |
รูปภาพประกอบ |
|