ชื่อโครงการ/กิจกรรม |
Zero waste |
ประเภท |
โรงเรียนที่จัดกิจกรรมการเรียนรู้ฯ ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง |
ปีการศึกษา |
2562 |
มาตรฐาน |
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน
1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน 1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
2.1 มีเป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกิจที่สถานศึกษากำหนดขัดเจน 2.2 มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
3.1 จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงและสามารถนำไปประยุกต็ใช้ในชีวิตได้ 3.2 ใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ |
ผู้รับผิดชอบ |
|
ความเป็นมา |
ปัญหาขยะล้นเมืองถือเป็นปัญหาสำคัญของประเทศไทย โดยปัจจุบันประเทศไทยมีขยะเกิดขึ้นประมาณ 41,532 ตันต่อวัน หรือกว่า 15 ล้านตันต่อปี โดยร้อยละ 30 เป็นขยะที่นำไปรีไซเคิลได้ แต่กลับมีการรีไซเคิลนำมาใช้ประโยชน์จริงเพียง 1 ใน 4 เท่านั้น จึงเป็นเรื่องที่ทุกภาคส่วนควรจะช่วยกันแก้ไข เนื่องจากส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมเป็นวงกว้าง
แนวคิด “ขยะเหลือศูนย์ (Zero Waste)" เป็นแนวทางในการลดการเกิดขยะตั้งแต่ต้นทาง ทำให้ปริมาณขยะที่ต้องนำไปกำจัดให้ลดเหลือน้อยที่สุดจนเป็นศูนย์ ซึ่งหัวใจสำคัญของแนวคิดขยะเหลือศูนย์ คือ การจัดการขยะที่ต้นทาง เน้นการลดขยะ การใช้ซ้ำ และการคัดแยกเพื่อนำกลับมาใช้ใหม่ ก่อนนำไปกำจัด ซึ่งแตกต่างจากการจัดการขยะในปัจจุบันที่เน้นการกำจัดหรือจัดการขยะที่ปลายทาง มากกว่าการแก้ไขที่ต้นทาง โดยสามารถเริ่มต้นได้ตั้งแต่ที่บ้านของเราเอง และทุกคนในครอบครัวลงมือทำได้ทันที ด้วยหลักการ 3Rs ได้แก่
1. Reduce คือ ลดการใช้ บริโภคแบบพอเพียง ละเว้นของฟุ่มเฟือย เลือกใช้สินค้าที่สามารถนำกลับมา เช่น ลดการใช้ถุงพลาสติก พกแก้วน้ำส่วนตัว หันมาใช้ถุงผ้าหรือตะกร้าแทน
2. Reuse คือ การใช้ซ้ำ นำกลับมาใช้อีก เป็นการลดการใช้ทรัพยากรใหม่ และยังช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย เช่น การนำขวดแก้วมาใช้ซ้ำ การบริจาคเสื้อผ้าแทนการทิ้ง
3. Recycle คือ การนำกลับมาใช้ใหม่ การคัดแยกขยะที่สามารถรีไซเคิล เช่น กระดาษ แก้ว พลาสติก และโลหะ/อโลหะ ออกจากขยะประเภทอื่น ๆ เพื่อนำกลับมาใช้ใหม่ นำขยะอินทรีย์กลับมาใช้ประโยชน์ เช่น ทำน้ำหมักชีวภาพ ปุ๋ยหมัก ผลิตแก๊สชีวภาพ |
วัตถุประสงค์ |
วัตถุประสงค์
1. เพื่อปลูกจิตสำนึกและให้ความรู้กับเยาวชนในเรื่องการคัดแยกขยะก่อนทิ้ง
2. เพื่อให้ความรู้เรื่องการกำจัดขยะอย่างถูกวิธี
3. เพื่อให้ความรู้เรื่องการรีไซเคิลขยะ
4. เพื่อให้เยาวชนรับรู้ และตระหนักถึงปัญหาเรื่องผลกระทบจากขยะต่อสิ่งแวดล้อม
5. เพื่อให้เยาวชนมีความรู้เรื่องแนวทางให้การปฏิบัติตนเพื่อแก้ไขปัญหาเรื่องขยะได้
6. เพื่อสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างผู้ทำโครงงานกับกลุ่มเป้าหมาย
7. เพื่อนำความรู้ที่เรียนมาไปสร้างสิ่งที่ดีและเป็นประโยชน์ต่อสังคม
8. เพื่อให้ผู้ทำโครงงานทุกคนรู้จักการทำงานร่วมกันอย่างเป็นระบบ
และรู้จักวิธีการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นระหว่างการทำงาน |
เป้าหมาย |
เพื่อส่งเสริม สนับสนุนการสร้างเครือข่ายสถานศึกษา ที่ดำเนินกิจกรรม ลด คัดแยก และนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์ การรวบรวมขยะเพื่อส่งไปกำจัดอย่างถูกต้อง ปลูกจิตสำนึกการลด คัดแยก และนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ในสถานศึกษา สร้างระบบการเรียนรู้ผ่านกิจกรรมต่างๆ และส่งเสริมการมีส่วนร่วมของผู้เรียนในการจัดการขยะภายในสถานศึกษา ปลูกฝังลักษณะนิสัยรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมแก่ผู้เรียน เพื่อมุ่งสู่สถานศึกษาปลอดขยะอย่างแท้จริงและขยายผลต่อจนกลายเป็นสังคมรีไซเคิล ให้ได้มีผลการดำเนินการอย่างต่อเนื่อง |
ระยะเวลา |
31 ก.ค. 2563 - 31 ก.ค. 2564 |
สถานที่ดำเนินการ |
โรงเรียนพระพุทธบาทวิทยาคม |
ตัวชี้วัด |
มาตรฐาน ด้านการบริหารจัดการ (2 มาตรฐาน 6 ตัวชี วัด)
มาตรฐานที่ 1 สถานศึกษามีระบบการบริหารจัดการด้านสิ่งแวดล้อมศึกษา (ขยะ มลพิษ น า
พลังงาน อนามัย) ที่มีประสิทธิภาพ
ตัวชี วัดที่ 1.1 มีการก าหนดนโยบาย /วิสัยทัศน์ /พันธกิจ /เป้าประสงค์ และแผนงาน/
โครงการด้านสิ่งแวดล้อมศึกษา (ขยะ มลพิษ น า พลังงาน อนามัย
ตัวชี วัดที่ 1.2 มีการด าเนินงานตามแผนงานโครงการและนิเทศ ติดตาม ประเมินผลอย่าง
เป็นระบบ
ตัวชี วัดที่ 1.3 มีการส่งเสริม สนับสนุน งบประมาณและทรัพยากรด้านสิ่งแวดล้อมศึกษา
ตัวชี วัดที่ 1. 4 มีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์งานด้านสิ่งแวดล้อมศึกษา
มาตรฐานที่ 2 ครูและบุคลากรในสถานศึกษาได้รับการพัฒนาด้านสิ่งแวดล้อมศึกษาอย่าง
สม่ าเสมอ
ตัวชี วัดที่ 2.1 มีการส่งเสริมให้ครูและบุคลากรในสถานศึกษาได้รับการพัฒนาด้าน
สิ่งแวดล้อมศึกษา
ตั วชี วัดที่ 2.2 มี ก า รก ากับ ติ ดต าม ป ร ะเมิน ผ ล แ ล ะนิ เท ศ ก า รป ฏิ บั ติงาน
ด้านสิ่งแวดล้อมศึกษาอย่างต่อเนื่อง
2. มาตรฐานด้านหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ (2 มาตรฐาน 5 ตัวชี วัด)
มาตรฐานที่ 3 สถานศึกษามีหลักสูตรและจัดการเรียนรู้ด้านสิ่งแวดล้อมศึกษาที่สอดคล้องกับ
บริบทของท้องถิ่น
ตัวชี วัดที่ 3.1 มีการพัฒนาหลักสูตรเพิ่มเติม/สาระการเรียนรู้ท้องถิ่นด้านสิ่งแวดล้อม
ศึกษาที่สอดคล้องกับสภาพบริบทของชุมชน (ด้านการจัดการขยะ มลพิษ น า พลังงาน อนามัย)
ตัวชี วัดที่ 3.2 มีการจัดการเรียนรู้ตามหน่วย/แผนการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษาด้านการ
จัดการขยะ น าเสีย มลพิษทางอากาศ และพลังงาน
ตัวชี วัดที่ 3.3 มีสื่อ นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ แหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่นอย่าง
หลากหลาย
มาตรฐานที่ 4 สถานศึกษามีการส่งเสริมการจัดกิจรรม ด้านทรัพยากรธรรมชาติ พลังงาน
สิ่งแวดล้อมและสุขอนามัย (น า ขยะ พลังงาน มลพิษ)
ตัวชี วัดที่ 4.1 มีโครงการ/กิจกรรม ด้านทรัพยากรธรรมชาติ พลังงาน สิ่งแวดล้อม และ
สุขอนามัย
ตัวชี วัดที่ 4.2 มีฐานข้อมูลด้านทรัพยากรธรรมชาติ พลังงาน สิ่งแวดล้อมและสุขอนามัย
3. มาตรฐานด้านการมีส่วนร่วมและการสร้างเครือข่าย (2 มาตรฐาน 4 ตัวชี วัด)
มาตรฐานที่5 สถานศึกษามีการสร้างเครือข่ายการมีส่วนร่วมภายในสถานศึกษา
ตัวชี วัดที่ 5.1 มีการจัดตั งชุมนุม/ชมรม/สภานักเรียน ที่ด าเนินงาน สิ่งแวดล้อมศึกษา
ภายในโรงเรียนอย่างชัดเจน
ตัวชี วัดที่ 5.2 มีการขยายเครือข่ายชมรม ชุมนุมกิจกรรมสิ่งแวดล้อมภายในสถานศึกษา
มาตรฐานที่ 6 สถานศึกษามีสร้างเครือข่ายการมีส่วนร่วมจากบุคคลและหน่วยงานภายนอก
ตัวชี วัดที่ 6.1 จัดกิจกรรมด้านสิ่งแวดล้อมศึกษาโดยให้ภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วม
ตัวชี วัดที่ 6.2 มีภาคีเครือข่ายสนับสนุนการด าเนินงานของสถานศึกษา
4. มาตรฐานด้านผลที่เกิดขึ้นจากการด าเนินงานด้านสิ่งแวดล้อมศึกษา
(4 มาตรฐาน 6 ตัวชี วัด)
มาตรฐานที่ 7 สถานศึกษามีสภาพแวดล้อมที่สวยงาม สะอาด ร่มรื่น ปลอดภัย และเอื อต่อการ
จัดการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษา (Green School)
ตัวชี วัดที่ 7.1 มีสภาพแวดล้อมที่เอื อต่อการจัดการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษา
ตัวชี วัดที่ 7.2 มีห้องเรียนที่สะอาด สวยงาม เอื อต่อการจัดการเรียนรู้และเป็นมิตรกับ
สิ่งแวดล้อม
มาตรฐานที่ 8 ครูและบุคลากรทางการศึกษาเป็นแบบอย่างที่ดีด้านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมศึกษา
ตัวชี วัดที่ 8.1 มีพฤติกรรมที่แสดงถึงความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและ
เป็นแบบอย่างดีแก่นักเรียนและชุมชน
ตัวชี วัดที่ 8.2 มีสื่อ/นวัตกรรม/ผลงานสิ่งแวดล้อมศึกษา ที่ได้รับการยอมรับ
มาตรฐานที่ 9 ผู้เรียนมีพฤติกรรมที่รับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม
ตัวชี วัดที่ 9.1 ผู้เรียนมีคุณลักษณะตามวัตถุประสงค์ของสิ่งแวดล้อมศึกษา
มาตรฐานที่ 10 ชุมชน/เครือข่าย มีสภาพแวดล้อมที่ สะอาด สวยงาม ปราศจากขยะและมลพิษ
ตัวชี วัดที่ 10.1 สภาพแวดล้อมชุมชน/เครือข่าย สะอาด สวยงาม ปราศจากขยะและ
มลพิษ |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1. นักเรียนและบุคลากรในสถานศึกษามีความรู้ มีจิตสำนึกและมีความตระหนักในการจัดการขยะมูลฝอยและสามารถเป็นตัวอย่างที่ดีให้กับชุมชนในการคัดแยกขยะก่อนทิ้งที่ยั่งยืน
2. นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา ตระหนักถึงความสำคัญของการของการลดการคัดแยกขยะและการนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่และนำมาใช้ในชีวิตประจำวันรวมทั้งให้ความร่วมมือในกิจกรรมจากโครงการโรงเรียนปลอดขยะที่โรงเรียนจัดทำขึ้น
3. โรงเรียนมีสภาพแวดล้อมที่ร่มรื่น สวยงาม ปลอดขยะ และมีบรรยากาศวิชาการที่เอื้อต่อการเรียนรู้
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1. นักเรียนและบุคลากรในสถานศึกษามีความรู้ มีจิตสำนึกและมีความตระหนักในการจัดการขยะมูลฝอยและสามารถเป็นตัวอย่างที่ดีให้กับชุมชนในการคัดแยกขยะก่อนทิ้งที่ยั่งยืน
2. นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา ตระหนักถึงความสำคัญของการของการลดการคัดแยกขยะและการนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่และนำมาใช้ในชีวิตประจำวันรวมทั้งให้ความร่วมมือในกิจกรรมจากโครงการโรงเรียนปลอดขยะที่โรงเรียนจัดทำขึ้น
3. โรงเรียนมีสภาพแวดล้อมที่ร่มรื่น สวยงาม ปลอดขยะ และมีบรรยากาศวิชาการที่เอื้อต่อการเรียนรู้
|
สรุปคะแนนประเมิน |
0.00 |
ไฟล์ประกอบ |
|
ขั้นเตรียมการ |
|
ขั้นดำเนินการ |
|
ขั้นตรวจสอบประเมินผล |
|
ขั้นสรุปและรายงาน |
|
งบประมาณ |
|
การบรรลุตัวชี้วัด |
|
ความพึงพอใจ |
|
ปัญหาและอุปสรรค |
|
ข้อเสนอแนะ |
|
รูปภาพประกอบ |
|