โลโก้เว็บไซต์ สารสนเทศสำนักบริหารมัธยมศึกษาตอนปลาย
  PDF

โครงการปลอดขยะ (Zero Waste School)

โรงเรียน : บางปลาม้า(สูงสุมารผดุงวิทย์) สพม.สุพรรณบุรี

ประเภท : โรงเรียนมาตรฐานสากล (World-Class Standard School)

ผลการประเมิน : 0.00

เผยแพร่เมื่อ : 5 ส.ค. 2563 โดย : เมธินี ทองสุกใส จำนวนผู้เข้าชม 54 คน


ชื่อโครงการ/กิจกรรม โครงการปลอดขยะ (Zero Waste School)
ประเภท โรงเรียนมาตรฐานสากล (World-Class Standard School)
ปีการศึกษา 2562
มาตรฐาน มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน
     1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
     2.5 จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ

ผู้รับผิดชอบ
ความเป็นมา โครงการปลอดขยะมุ่งเน้นการแก้ไขปัญหาด้านทรัพยากรมนุษย์และสิ่งแวดล้อมซึ่งเป็นปัญหาที่มีความจำเป็นในการพัฒนาเป็นอย่างมาก อันจะเห็นได้จากผลกระทบในปัจจุบัน เช่น ภาวะโลกร้อน การทิ้งขยะไม่เป็นที่ สัตว์ป่ามีอัตราการตายจากเศษพลาสติกมากขึ้น เป็นต้น ปัญหาดังกล่าวเกิดจากมนุษย์ที่มีการจัดการของเหลือใช้ไม่ถูกต้องและการใช้ทรัพยากรไม่คุ้มค่า โครงการปลอดขยะจึงมุ่งเน้นแก้ไขปัญหาโดยพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ควบคู่กับการพัฒนาสิ่งแวดล้อม เพื่อให้ทรัพยากรมนุษย์หรือบุคลากรและนักเรียนในโรงเรียนนำความรู้และทักษะด้านการจัดการขยะไปปฏิบัติและส่งต่อให้แก่ครอบครัวรวมถึงชุมชนหรือภาคีเครือข่ายต่อไป
วัตถุประสงค์ 1.กิจกรรมปุ๋ยหมัก
2.กิจกรรมกล่อง UHT ช่วยเหลือผู้พิการทางสายตา
3.กิจกรรมอะลูมิเนียมเพื่อขาเทียม
4.กิจกรรมสานผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่
5.กิจกรรมของกาแฟสู่งานประดิษฐ์
6.กิจกรรมทำที่นอนหลอด
7.กิจกรรมธนาคารขยะ
8.กิจกรรมอบรมความรู้ด้านสิ่งแวดล้อมและการจัดการขยะ
9.กิจกรรมประกวดสิ่งประดิษฐ์จากวัสดุเหลือใช้
10.กิจกรรมพัฒนาแหล่งรวบรวมขยะ
เป้าหมาย 1.กิจกรรมปุ๋ยหมัก
เชิงปริมาณ คือ เศษอินทรีย์วัตถุภายในโรงเรียนถูกนำมาใช้ประโยชน์เป็นปุ๋ยหมัก ได้จำนวน 50 กิโลกรัม
เชิงคุณภาพ คือ โรงเรียนมีสภาพบรรยากาศเหมาะสมต่อการเรียนรู้
2.กิจกรรมกล่อง UHT ช่วยเหลือผู้พิการทางสายตา
เชิงปริมาณ คือ เพื่อรวบรวมกล่อง UHT ได้จำนวน 200 กล่อง
เชิงคุณภาพ คือ เพื่อให้นักเรียนรู้จักการคัดแยกขยะ
3.กิจกรรมอะลูมิเนียมเพื่อขาเทียม
เชิงปริมาณ คือ รวบรวมอะลูมิเนียมให้ได้ปริมาณ 0.5 กิโลกรัม
เชิงคุณภาพ คือ เพื่อให้นักเรียนรู้จักการคัดแยกขยะ
4.กิจกรรมสานผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่
เชิงปริมาณ คือ นักเรียนชั้น ม.3/9 ได้รู้วิธีการสานผลิตภัณฑ์งานจักสานด้วยไม้ไผ่ ร้อยละ 80
เชิงคุณภาพ คือ นักเรียนชั้น ม.3/9 ได้รู้วิธีการสานผลิตภัณฑ์งานจักสานด้วยไม้ไผ่
5.กิจกรรมของกาแฟสู่งานประดิษฐ์
เชิงปริมาณ คือ มอบซองกาแฟให้ครูในโรงเรียนได้นำไปใช้เป็นสื่อในการจัดการเรียนรู้ 2 วิชา
เชิงคุณภาพ คือ นักเรียนมีประสบการณ์ในงานประดิษฐ์
6.กิจกรรมทำที่นอนหลอด
เชิงปริมาณ คือ นำที่นอนจากหลอดดูดน้ำเพื่อผู้ป่วยติดเตตียงไปให้ผู้ปกครองนักเรียน ห้อง 3/11 จำนวน 2 ราย
เชิงคุณภาพ คือ นักเรียนห้อง 3/11 ได้เห็นถึงความสำคัญของการแยกขยะ และนำมาใช้ให้เกิดประโยชน์
7.กิจกรรมธนาคารขยะ
เชิงปริมาณ คือ นักเรียนมีความพึงพอใจในบรรยากาศโรงเรียนร้อยละ 80
นักเรียนมีส่วนร่วมในการคัดแยกขยะ ร้อยละ 80
เชิงคุณภาพ คือ โรงเรียนมีสภาพบรรยากาศเหมาะสมต่อการเรียนรู้
8.กิจกรรมอบรมความรู้ด้านสิ่งแวดล้อมและการจัดการขยะ
เชิงปริมาณ คือ นักเรียนมีความพึงพอใจในกิจกรรมอยู่ในระดับดี ร้อยละ 60
​​​​​​​เชิงคุณภาพ คือ นักเรียนส่งต่อความรู้ให้แก่ผู้อื่นได้
9.กิจกรรมประกวดสิ่งประดิษฐ์จากวัสดุเหลือใช้
เชิงปริมาณ คือ ห้องเรียนเข้าร่วมประกวดอย่างน้อย 10 ห้องเรียน
​​​​​​​เชิงคุณภาพ คือ เพื่อสร้างความตระหนักรู้ถึงประโยชน์ของวัสดุเหลือใช้
​​​​​​​10.กิจกรรมพัฒนาแหล่งรวบรวมขยะ
เชิงปริมาณ คือ จัดวางถังขยะทั่วไปและตระแกรงรับขวดน้ำให้ครบ 5 อาคาร บริเวณต้นและท้ายอาคาร
​​​​​​​เชิงคุณภาพ คือ มีสถานที่รวบรวมขยะที่มีคุณภาพ
ระยะเวลา 5 ส.ค. 2563 - 5 ส.ค. 2563
สถานที่ดำเนินการ
ตัวชี้วัด 1.กิจกรรมปุ๋ยหมัก
 เศษอินทรีย์วัตถุภายในโรงเรียนถูกนำมาใช้ประโยชน์เป็นปุ๋ยหมัก ได้จำนวน 50 กิโลกรัม
2.กิจกรรมกล่อง UHT ช่วยเหลือผู้พิการทางสายตา
เชิงปริมาณ คือ เพื่อรวบรวมกล่อง UHT ได้จำนวน 200 กล่อง
3.กิจกรรมอะลูมิเนียมเพื่อขาเทียม
เชิงปริมาณ คือ รวบรวมอะลูมิเนียมให้ได้ปริมาณ 0.5 กิโลกรัม
4.กิจกรรมสานผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่
เชิงปริมาณ คือ นักเรียนชั้น ม.3/9 ได้รู้วิธีการสานผลิตภัณฑ์งานจักสานด้วยไม้ไผ่ 
5.กิจกรรมของกาแฟสู่งานประดิษฐ์
เชิงปริมาณ คือ มอบซองกาแฟให้ครูในโรงเรียนได้นำไปใช้เป็นสื่อในการจัดการเรียนรู้ 2 วิชา
6.กิจกรรมทำที่นอนหลอด
เชิงปริมาณ คือ นำที่นอนจากหลอดดูดน้ำเพื่อผู้ป่วยติดเตตียงไปให้ผู้ปกครองนักเรียน ห้อง 3/11 จำนวน 2 ราย
​7.กิจกรรมธนาคารขยะ
เชิงปริมาณ คือ นักเรียนมีความพึงพอใจในบรรยากาศโรงเรียนร้อยละ 80
นักเรียนมีส่วนร่วมในการคัดแยกขยะ ร้อยละ 80
8.กิจกรรมอบรมความรู้ด้านสิ่งแวดล้อมและการจัดการขยะ
เชิงปริมาณ คือ นักเรียนมีความพึงพอใจในกิจกรรมอยู่ในระดับดี ร้อยละ 60
9.กิจกรรมประกวดสิ่งประดิษฐ์จากวัสดุเหลือใช้
เชิงปริมาณ คือ ห้องเรียนเข้าร่วมประกวดอย่างน้อย 10 ห้องเรียน
10.กิจกรรมพัฒนาแหล่งรวบรวมขยะ
เชิงปริมาณ คือ จัดวางถังขยะทั่วไปและตระแกรงรับขวดน้ำให้ครบ 5 อาคาร บริเวณต้นและท้ายอาคาร
ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1.กิจกรรมปุ๋ยหมัก : สามารถจำหน่ายปุ๋ยหมักให้กับผู้ที่สนใจได้
2.กิจกรรมกล่อง UHT ช่วยเหลือผู้พิการทางสายตา  : สร้างนิสัยการให้แก่ผู้อื่นให้แก่นักเรียน
3.กิจกรรมอะลูมิเนียมเพื่อขาเทียม  : สร้างนิสัยการให้แก่ผู้อื่นให้แก่นักเรียน
4.กิจกรรมสานผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่  : นักเรียนชั้น ม.3/9 ได้ส่งต่อความรู้การสานผลิตภัณฑ์ต่อผู้อื่น
5.กิจกรรมของกาแฟสู่งานประดิษฐ์  : ช่วยลดปริมาณขยะทั่วไป
6.กิจกรรมทำที่นอนหลอด  : สร้างนิสัยนักเรียนรู้จักเป็นผู้ให้
7.กิจกรรมธนาคารขยะ  : สร้างระเบียบวินัยให้แก่นักเรียน
8.กิจกรรมอบรมความรู้ด้านสิ่งแวดล้อมและการจัดการขยะ  : นักเรียนตระหนักถึงผลกระทบของการทิ้งขยะไม่เป็นที่
9.กิจกรรมประกวดสิ่งประดิษฐ์จากวัสดุเหลือใช้  : กิจกรรมการประกวดสามารถประชาสัมพันธ์ให้ผู้อื่นทราบถึงความสำคัญ
ของเศษวัสดุเหลือใช้
10.กิจกรรมพัฒนาแหล่งรวบรวมขยะ  : เป็นแบบอย่างการจัดการการทิ้งขยะ
สรุปคะแนนประเมิน 0.00
ไฟล์ประกอบ
ขั้นเตรียมการ
ขั้นดำเนินการ
ขั้นตรวจสอบประเมินผล
ขั้นสรุปและรายงาน
งบประมาณ
การบรรลุตัวชี้วัด
ความพึงพอใจ
ปัญหาและอุปสรรค
ข้อเสนอแนะ
รูปภาพประกอบ

ออกแบบและพัฒนาโดย สารสนเทศสำนักบริหารการมัธยมศึกษา SESA 2.0