โลโก้เว็บไซต์ สารสนเทศสำนักบริหารมัธยมศึกษาตอนปลาย
  PDF

สืบสานนาฏศิลป์ถิ่นสยาม

โรงเรียน : แสนสุข สพม.ชลบุรี ระยอง

ประเภท : โรงเรียนในฝัน (Lab School)

ผลการประเมิน : 0.00

เผยแพร่เมื่อ : 27 ธ.ค. 2563 โดย : Siwinee Phromboot จำนวนผู้เข้าชม 24 คน


ชื่อโครงการ/กิจกรรม สืบสานนาฏศิลป์ถิ่นสยาม
ประเภท โรงเรียนในฝัน (Lab School)
ปีการศึกษา 2563
มาตรฐาน มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน
     1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน


ผู้รับผิดชอบ
ความเป็นมา ในปัจจุบันค่านิยม และวัฒนธรรมต่างชาติ ได้เข้ามาพร้อมกับความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยี
ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางค่านิยม และวัฒนธรรมของไทย นาฏศิลป์ไทยจัดเป็นวัฒนธรรมของไทย
แขนงหนึ่งที่มีความประณีต งดงาม แสดงถึงวิถีชีวิตของคนไทย ทั้งยังเป็นเอกลักษณ์ของชาติไทย

นาฏศิลป์ไทย ไม่ได้หมายถึงเพียงการจับระบำ รำ ฟ้อนเท่านั้น แต่ยังรวมถึงจริตกิริยามารยาทแบบไทย และการแต่งกายแบบไทยอีกด้วย โรงเรียนแสนสุขจึงควรจัดตั้งชมรมนาฏศิลป์ไทยขึ้น เพื่อเป็นปลูกฝังค่านิยม
ที่ดีในการส่งเสริม สืบสาน อนุรักษ์นาฏศิลป์ไทยให้คงอยู่สืบต่อไปในปัจจุบันและอนาคต

 
วัตถุประสงค์ 1 เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีทักษะด้านนาฏศิลป์ไทย
2 เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนสามารถนำความรู้เกี่ยวกับนาฏศิลป์ไทยไปใช้ในโอกาสต่างๆ ได้
3 เพื่อให้นักเรียนได้มีส่วนร่วมในการสืบสาน และอนุรักษ์วัฒนธรรมของไทยให้คงอยู่สืบไป
 
เป้าหมาย เชิงปริมาณ
1 นักเรียนในชมรมนาฏศิลป์ร้อยละ 100 มีความรู้และทักษะทางด้านนาฏศิลป์
2 นักเรียนในชมรมนาฏศิลป์ร้อยละ 100 ได้แสดงนาฏศิลป์อย่างน้อย 1 ชุดการแสดง
3 นักเรียนในชมรมนาฏศิลป์ร้อยละ 100 ได้ประดิษฐ์เครื่องประดับที่ใช้ในการแสดงนาฏศิลป์ 1 ชิ้นงาน
เชิงคุณภาพ
1 นักเรียนในชมรมนาฏศิลป์ร้อยละ 100 นำความรู้ ความสามารถไปใช้ในโอกาสต่างๆ ได้
2 นักเรียนในชมรมนาฏศิลป์ร้อยละ 100 มีส่วนร่วมในการสืบสาน และอนุรักษ์วัฒนธรรมของไทยให้คงอยู่สืบไป
3 นักเรียนในชมรมนาฏศิลป์มีความพึงพอใจในการดำเนินงานสืบสานนาฏศิลป์ถิ่นสยาม
                
 
ระยะเวลา 31 มี.ค. 2563 - 1 เม.ย. 2563
สถานที่ดำเนินการ โรงเรียนแสนสุข
ตัวชี้วัด เชิงคุณภาพ
1 นักเรียนในชมรมนาฏศิลป์ร้อยละ 100 นำความรู้ ความสามารถไปใช้ในโอกาสต่างๆ ได้
2 นักเรียนในชมรมนาฏศิลป์ร้อยละ 100 มีส่วนร่วมในการสืบสาน และอนุรักษ์วัฒนธรรมของไทยให้คงอยู่สืบไป
3 นักเรียนในชมรมนาฏศิลป์มีความพึงพอใจในการดำเนินงานสืบสานนาฏศิลป์ถิ่นสยาม
ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1 นักเรียนมีทักษะด้านนาฏศิลป์ไทย
2 นักเรียนสามารถนำความรู้เกี่ยวกับนาฏศิลป์ไทยไปใช้ในโอกาสต่างๆ ได้
3 นักเรียนได้มีส่วนร่วมในการสืบสาน และอนุรักษ์วัฒนธรรมของไทยให้คงอยู่สืบไป
 
สรุปคะแนนประเมิน 0.00
ไฟล์ประกอบ
ขั้นเตรียมการ
ขั้นดำเนินการ
ขั้นตรวจสอบประเมินผล
ขั้นสรุปและรายงาน
งบประมาณ
การบรรลุตัวชี้วัด
ความพึงพอใจ
ปัญหาและอุปสรรค
ข้อเสนอแนะ
รูปภาพประกอบ

ออกแบบและพัฒนาโดย สารสนเทศสำนักบริหารการมัธยมศึกษา SESA 2.0