โลโก้เว็บไซต์ สารสนเทศสำนักบริหารมัธยมศึกษาตอนปลาย
  PDF

การพัฒนาศักยภาพด้านการเขียนโปรแกรมเพื่อสนับสนุนการทำโครงงาน ด้วยระบบอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง (IoT)

โรงเรียน : พิษณุโลกพิทยาคม สพม.พิษณุโลก อุตรดิตถ์

ประเภท : โรงเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ (Enrichment Science Classroom : ESC)

ผลการประเมิน : 0.00

เผยแพร่เมื่อ : 3 มี.ค. 2564 โดย : กิ่งแก้ว บรรลุผลสกุล จำนวนผู้เข้าชม 47 คน


ชื่อโครงการ/กิจกรรม การพัฒนาศักยภาพด้านการเขียนโปรแกรมเพื่อสนับสนุนการทำโครงงาน ด้วยระบบอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง (IoT)
ประเภท โรงเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ (Enrichment Science Classroom : ESC)
ปีการศึกษา 2563
มาตรฐาน มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน
     1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน
     1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน


     3.1 จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงและสามารถนำไปประยุกต็ใช้ในชีวิตได้
ผู้รับผิดชอบ
ความเป็นมา     การจัดการศึกษาตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน  พุทธศักราช ๒๕๕๐  (ฉบับปรับปรุง  พ.ศ.๒๕๖๐)  มุ่งส่งเสริมให้นักเรียนเรียนรู้ด้วยตนเอง  สามารถเรียนรู้ได้ทุกเวลา  ทุกสถานที่  เรียนรู้ด้วยการลงมือปฏิบัติจริง  และการจัดการเรียนการสอนตามโครงการห้องเรียนพิเศษทางด้านวิทยาศาสตร์  เทคโนโลยี  และสิ่งแวดล้อม  (SMTE)  ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย  มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้ฝึกฝนเรียนรู้และสร้างนวัตกรรมทางด้านวิทยาศาสตร์  คณิตศาสตร์  เทคโนโลยี  และสิ่งแวดล้อม  โดยการจัดการเรียนการสอนทางด้านเทคโนโลยีของห้องเรียนพิเศษ  ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย  ในความรับผิดชอบของกลุ่มงานคอมพิวเตอร์ จะช่วยส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ฝึกทักษะในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อการแก้ปัญหาในชีวิตประจำวัน  และความก้าวหน้าของเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง  (IoT) 
ในปัจจุบัน  มีบทบาทเข้ามาควบคุมอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ  เช่น  การเปิด – ปิดไฟ  Smart Farm  ฯลฯ  การให้นักเรียนได้มีโอกาสในการฝึกฝนเทคโนโลยีของ IoT  จะช่วยให้นักเรียนสามารถนำความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับไปใช้ในการพัฒนานวัตกรรมและโครงงานที่เป็นประโยชน์ต่อตนเอง  สังคม  สิ่งแวดล้อม  และประเทศชาติสืบไป

     ด้วยเหตุผลดังกล่าว  กลุ่มงานคอมพิวเตอร์จึงขอเสนอโครงการการพัฒนาศักยภาพด้านการเขียนโปรแกรม
เพื่อสนับสนุนการทำโครงงานด้วยระบบอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง  (
IoT)  โดยจัดกิจกรรมค่ายอบรมเชิงปฏิบัติการ
จะช่วยฝึกฝนทักษะการเขียนโปรแกรมควบคุมระบบ  IoT  เพื่อเป็นการปูพื้นฐานความรู้ให้นักเรียนสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการทำโครงงานเพื่อแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันสืบไป

 
วัตถุประสงค์
  1.   เพื่อให้นักเรียนได้ฝึกทักษะการเขียนโปรแกรมเพื่อควบคุมระบบ  IoT  โดยใช้อุปกรณ์  IPST  WiFi  ร่วมกับ
      เซนเซอร์ต่าง ๆ 
  2.   เพื่อให้นักเรียนสามารถนำความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับจากการเข้าร่วมการอบรมไปประยุกต์ใช้ในการทำ
      โครงงานที่มีการประยุกต์ใช้ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์  คณิตศาสตร์  และเทคโนโลยี  เพื่อแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น
      ในชีวิตประจำวัน
เป้าหมาย
  1. เป้าหมาย( มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน/โรงเรียน)
ก. ด้านคุณภาพผู้เรียน                             มาตรฐานที่....1...... ตัวบ่งชี้ ....1.1, 1.2.............................
ข. ด้านการจัดการศึกษา                          มาตรฐานที่............ ตัวบ่งชี้ ..............................................
ค. ด้านการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้             มาตรฐานที่.....3..... ตัวบ่งชี้ .....3.1...................................
ง. ด้านอัตลักษณ์ของสถานศึกษา                  มาตรฐานที่............ ตัวบ่งชี้ ..............................................
จ. ด้านมาตรการส่งเสริม                          มาตรฐานที่............ ตัวบ่งชี้ ..............................................
3.1 เป้าหมายด้านปริมาณ
                   3.1.1  นักเรียนโครงการห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์  คณิตศาสตร์  เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม  ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 
    1.  เป้าหมายด้านคุณภาพ 
      1. ร้อยละ 80 ของนักเรียนสามารถเขียนโปรแกรมเพื่อควบคุมระบบ  IoT  ได้ในระดับดีขึ้นไป
      2. ร้อยละ 80 ของนักเรียนเห็นความสำคัญของระบบ  IoT  ที่มีต่อการดำรงชีวิตประจำวัน
      3. ร้อยละ 90 ของนักเรียนนำความรู้ที่ได้รับจากการเข้าร่วมการอบรมเชิงปฏิบัติการไปประยุกต์ใช้ในการจัดทำโครงงานที่มีการเชื่อมโยงความรู้ด้านวิทยาศาสตร์  คณิตศาสตร์  และเทคโนโลยี
ระยะเวลา 3 มี.ค. 2564 - 3 มี.ค. 2564
สถานที่ดำเนินการ
ตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดความสำเร็จ วิธีการประเมิน เครื่องมือที่ใช้
  1. ร้อยละ 90 ของนักเรียนนำความรู้ที่ได้รับจากการเข้าร่วมการอบรมเชิงปฏิบัติการ
    ไปประยุกต์ใช้ในการจัดทำโครงงานที่มี
    การเชื่อมโยงความรู้ด้านวิทยาศาสตร์  คณิตศาสตร์  และเทคโนโลยี
สังเกต
ประเมินผล
แบบสังเกต
แบบประเมินผล
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
    1. นักเรียนมีความสามารถในการเขียนโปรแกรมควบคุมอุปกรณ์ต่าง ๆ  ด้วยระบบ  IoT
    2. นักเรียนเชื่อมโยงความรู้ ความคิดกับทักษะการปฏิบัติทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี
    3. นักเรียนใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ วิเคราะห์ปัญหาทางด้านสิ่งแวดล้อม
    4. นักเรียนได้รับความรู้เบื้องต้นทางด้านการเขียนโปรแกรมควบคุมด้วยระบบ  IoT  และสามารถประยุกต์ใช้ความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับจากการอบรมไปใช้ในการพัฒนาโครงงานที่มีการประยุกต์ใช้ความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์  คณิตศาสตร์  และเทคโนโลยี  เพื่อแก้ไขปัญหาที่พบในชีวิตประจำวัน
สรุปคะแนนประเมิน 0.00
ไฟล์ประกอบ
ขั้นเตรียมการ
ขั้นดำเนินการ          4.1 ประชุมวางแผนการดำเนินงานเพื่อจัดทำกิจกรรม/โครงการ
          4.2 ดำเนินการตามกิจกรรม/โครงการที่กำหนดวางแผน
          4.3 ตรวจสอบและประเมินผลขั้นตอนการดำเนินกิจกรรม/โครงการต่างๆ
          4.4 วิเคราะห์และสรุปผลการดำเนินกิจกรรม/โครงการเพื่อวางแผนพัฒนาในครั้งต่อไป
          4.5 รายงานผลการดำเนินโครงการต่อฝ่ายบริหาร
 
ขั้นตรวจสอบประเมินผล
ตัวชี้วัดความสำเร็จ วิธีการประเมิน เครื่องมือที่ใช้
  1. ร้อยละ 80 ของนักเรียนสามารถเขียนโปรแกรมเพื่อควบคุมระบบ  IoT 
    ได้ในระดับดีขึ้นไป
สังเกต
ประเมินผล
แบบสังเกต
แบบทดสอบ
  1. ร้อยละ 80 ของนักเรียนเห็นความสำคัญของระบบ  IoT  ที่มีต่อการดำรงชีวิตประจำวัน
สังเกต แบบสังเกต
ตัวชี้วัดความสำเร็จ วิธีการประเมิน เครื่องมือที่ใช้
  1. ร้อยละ 90 ของนักเรียนนำความรู้ที่ได้รับจากการเข้าร่วมการอบรมเชิงปฏิบัติการ
    ไปประยุกต์ใช้ในการจัดทำโครงงานที่มี
    การเชื่อมโยงความรู้ด้านวิทยาศาสตร์  คณิตศาสตร์  และเทคโนโลยี
สังเกต
ประเมินผล
แบบสังเกต
แบบประเมินผล
ขั้นสรุปและรายงาน
งบประมาณ
การบรรลุตัวชี้วัด
ความพึงพอใจ
ปัญหาและอุปสรรค
ข้อเสนอแนะ
รูปภาพประกอบ

ออกแบบและพัฒนาโดย สารสนเทศสำนักบริหารการมัธยมศึกษา SESA 2.0