โลโก้เว็บไซต์ สารสนเทศสำนักบริหารมัธยมศึกษาตอนปลาย
  PDF

โครงการขับเคลื่อนสะเต็มศึกษาของศูนย์สะเต็มศึกษาภาคเหนือตอนล่าง ประจำปี 2563

โรงเรียน : พิษณุโลกพิทยาคม สพม.พิษณุโลก อุตรดิตถ์

ประเภท : โรงเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ (Enrichment Science Classroom : ESC)

ผลการประเมิน : 0.01

เผยแพร่เมื่อ : 19 เม.ย. 2564 โดย : สิริลักษณ์ โพธิบุตร จำนวนผู้เข้าชม 45 คน


ชื่อโครงการ/กิจกรรม โครงการขับเคลื่อนสะเต็มศึกษาของศูนย์สะเต็มศึกษาภาคเหนือตอนล่าง ประจำปี 2563
ประเภท โรงเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ (Enrichment Science Classroom : ESC)
ปีการศึกษา 2563
มาตรฐาน มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน
     1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน
     1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน


     3.1 จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงและสามารถนำไปประยุกต็ใช้ในชีวิตได้
     3.2 ใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้
     3.3 มีการบริหารจัดการชั้นเรียบเชิงบวก
     3.4 ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบและนำผลมาพัฒนาผู้เรียน
     3.5 มีการแลกเปลียนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้
ผู้รับผิดชอบ
ความเป็นมา สืบเนื่องจากปัญหาด้านการศึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของประเทศไทยในปัจจุบัน ได้แก่ (1) การประเมินผลทั้งในระดับประเทศ และระดับนานาชาติบ่งชี้ว่าการศึกษาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ในระดับโรงเรียนมีคุณภาพต่าโดยเฉลี่ย และ (2) การจัดการศึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไม่สนองความต้องการในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของชาติ กระทรวงศึกษาธิการและสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานได้กาหนดเป็นนโยบายหนึ่งที่ต้องการพัฒนาศักยภาพด้านสะเต็มศึกษา เพื่อยกระดับการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีของเยาวชนไทยในระดับการศึกษาภาคบังคับ สะเต็มศึกษาเป็นการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีที่บูรณาการแนวคิดกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม และเปิดโอกาส ให้ผู้เรียนนาความรู้ไปใช้แก้ปัญหาที่สอดคล้องกับชีวิตจริง มีการพัฒนากระบวนการหรือผลผลิตใหม่ ที่เป็นประโยชน์ต่อการดาเนินชีวิตและการทางาน
เพื่อส่งเสริมให้การจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษาเกิดขึ้นในประเทศไทยอย่างเป็นรูปธรรม
ในปี พ.ศ. 2565 สสวท. โดยศูนย์สะเต็มศึกษาแห่งชาติได้จัดตั้งศูนย์สะเต็มศึกษาภาคจานวน 13 ศูนย์ ทั่วประเทศ และโรงเรียนโรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม จังหวัดพิษณุโลก ได้รับคัดเลือกให้เป็นศูนย์สะเต็มศึกษาภาคเหนือตอนล่าง ทาหน้าที่เป็นต้นแบบและศูนย์กลางการจัดการเรียนรู้สะเต็มศึกษาในภูมิภาค แหล่งข้อมูล ข่าวสาร รวมถึงการสนับสนุนเชิงวิชาการ ร่วมพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา และเป็นศูนย์ข้อมูล (resource center) เกี่ยวกับสะเต็มศึกษาสู่ภูมิภาคและโรงเรียนเครือข่ายสะเต็มศึกษา
เพื่อการดาเนินงานที่สอดรับกับนโยบายของศูนย์สะเต็มศึกษาแห่งชาติในการสร้างความเข้มแข็งทางด้านวิชาการในภูมิภาค สร้างต้นแบบของสถานศึกษาที่จัดการเรียนรู้สะเต็มศึกษาในภูมิภาค และสร้างความตระหนักถึงความสาคัญของสะเต็มศึกษาให้แก่สาธารณชน ศูนย์สะเต็มศึกษาภาคเหนือตอนล่าง จึงได้พัฒนา โครงการขับเคลื่อนสะเต็มศึกษาของศูนย์สะเต็มศึกษาภาคเหนือตอนล่าง ประจาปี 2563 ขึ้น โดยมีเป้าหมายเพื่อสร้างกลไกในการขับเคลื่อนสะเต็มศึกษาในเขตภาคเหนือตอนล่าง โดยสนับสนุนให้เกิดความร่วมมือของบุคลากร นักวิชาการ หน่วยงานทุกภาคส่วนในภูมิภาค ในการพัฒนาครู ส่งเสริมให้บุคลากรในพื้นที่ได้ลงมือพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อใช้เป็นฐานความรู้ด้านสะเต็มศึกษาในภูมิภาค รวมถึงการดาเนินกิจกรรมวิชาการที่ส่งเสริมการเรียนรู้ ของนักเรียน
วัตถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนากิจกรรมสะเต็มศึกษาที่เหมาะสมต่อการจัดการเรียนรู้ ของโรงเรียนศูนย์สะเต็มภาคเหนือตอนล่าง และโรงเรียนเครือข่ายสะเต็มศึกษา
2. เพื่อขยายผลการจัดการเรียนรู้สะเต็มศึกษาให้แก่โรงเรียนที่มีความสนใจ
3. เพื่อเป็นการประชาสัมพันธ์ และสนับสนุนการดาเนินงานของศูนย์สะเต็มศึกษาภาคเหนือตอนล่างให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อย
4. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนเกิดความเข้าใจและสร้างแรงบันดาลใจต่ออาชีพที่เกี่ยวข้องกับสะเต็มศึกษา โดยผ่านทางทูตสะเต็ม
5. เพื่อให้นักเรียนได้จัดทาโครงงานสะเต็มศึกษาที่มีประสิทธิภาพสาหรับการส่งโครงงานเข้าประกวด
6. เพื่อให้นักเรียนได้มีความรู้ตามแนวทาง STEM และสามารถนาความรู้ไปใช้ใชีวิตประจาวันได้
เป้าหมาย 3.1 เป้าหมายด้านปริมาณ (Outputs)
(3.1.1) ตามมาตรฐานการศึกษาด้านคุณภาพผู้เรียน มาตรฐานที่ 1
1) ผู้เรียนร้อยละ 90 สรุปความคิดจากเรื่องที่อ่าน ฟัง และดู และสื่อสารโดยการพูดหรือเขียน ตามความคิดของตนเอง
2) ผู้เรียนร้อยละ 90 นาเสนอวิธีคิด วิธีแก้ปัญหาด้วยภาษาหรือวิธีการของตนเอง
3) ผู้เรียนร้อยละ 95 กาหนดเป้าหมาย คาดการณ์ ตัดสินใจแก้ปัญหาโดยมีเหตุผลประกอบ
4) ผู้เรียนร้อยละ 90 มีความคิดริเริ่ม และสร้างสรรค์ผลงานด้วยความภาคภูมิใจ มองโลกในแง่ดีและมีจิตนาการ
(3.1.2) ตามมาตรฐานการศึกษาด้านการจัดการศึกษา มาตรฐานที่ 2
1) ครูร้อยละ 95 ออกแบบและจัดการเรียนรู้ที่ตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคล และพัฒนาการทางสติปัญญา
(3.1.3) ตามมาตรการส่งเสริม
1) สถานศึกษาจัดโครงการ กิจกรรมพิเศษ เพื่อตอบสนองนโยบาย จุดเน้น ตามแนวทางการปฏิรูปการศึกษา
2) ผลการดาเนินงานบรรลุตามเป้าหมายทุกโครงการ
3.2 เป้าหมายด้านคุณภาพ (Outcomes)
1) ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ คิดสร้างสรรค์ ตัดสินใจแก้ปัญหาได้อย่างมี
สติสมเหตุผลมีผลงานโครงงานส่งเข้าร่วมกิจกรรม
2) ครูปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล
3) การจัดกิจกรรมตามนโยบาย จุดเน้น แนวทางการปฏิรูปการศึกษาเพื่อพัฒนาและส่งเสริมสถานศึกษาของศูนย์สะเต็มศึกษาภาคเหนือตอนล่างยกระดับคุณภาพสูงขึ้น
ระยะเวลา 19 เม.ย. 2564 - 19 เม.ย. 2564
สถานที่ดำเนินการ ศูนย์สะเต็มศึกษาภาคเหนือตอนล่าง โรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม
ตัวชี้วัด ก. ด้านคุณภาพผู้เรียน มาตรฐานที่ 1 ตัวบ่งชี้ 1 – 2
ข. ด้านการจัดการศึกษา มาตรฐานที่ 2 ตัวบ่งชี้ 1 4
ค. ด้านการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ มาตรฐานที่ ตัวบ่งชี้
ง. ด้านอัตลักษณ์ของสถานศึกษา มาตรฐานที่ ตัวบ่งชี้
จ. ด้านมาตรการส่งเสริม มาตรฐานที่ ตัวบ่งชี้
ผลที่คาดว่าจะได้รับ 11.1 ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ คิดสร้างสรรค์ ตัดสินใจแก้ปัญหาได้อย่างมีสติ สมเหตุผล
11.2 ครูปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล
11.3 การจัดกิจกรรมตามนโยบาย จุดเน้น แนวทางการปฏิรูปการศึกษาเพื่อพัฒนาและส่งเสริมสถานศึกษาของศูนย์สะเต็มศึกษาภาคเหนือตอนล่างยกระดับคุณภาพสูงขึ้น
สรุปคะแนนประเมิน 0.01
ไฟล์ประกอบ
ขั้นเตรียมการ
เสนอขออนุมัติโครงการ
ประชุมวางแผน
ขั้นดำเนินการ แต่งตั้งคณะกรรมการดาเนินงาน
ประชุมคณะกรรมการดาเนินงานของศูนย์สะเต็มศึกษาภาคเหนือตอนล่าง
ติดตามการจัดทาหลักสูตรการจัดการเรียนการสอนตามแนวทางสะเต็มศึกษา
การบริหารจัดการศูนย์สะเต็มศึกษาภาคเหนือตอนล่าง (เจ้าหน้าที่ 1 คน)
พัฒนาบุคลากร ให้เป็นผู้นาสะเต็ม (LT mentor coach ) ส่งครูอบรม สสวท.
การประชุมคณะกรรมการ ดาเนินงานสะเต็มศึกษาในโรงเรียนศูนย์สะเต็มศึกษาภาค
จัดหาวัสดุครุภัณฑ์อุปกรณ์การจัดกิจกรรมสะเต็มศึกษาให้กับครูที่สอนสะเต็มศึกษาในกลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณิตศาสตร์ การงานอาชีพฯ
ขั้นตรวจสอบประเมินผล ประเมินผลและสรุปผลการดาเนินกิจกรรม

จัดทารายงานประจาปี(รูปเล่ม ซื้อหมึกปริ้น)

เผยแพร่ผลการการดาเนินงาน
ขั้นสรุปและรายงาน รายงานผลการดาเนินงานตามโครงการ
งบประมาณ
การบรรลุตัวชี้วัด
ความพึงพอใจ
ปัญหาและอุปสรรค
ข้อเสนอแนะ
รูปภาพประกอบ

ออกแบบและพัฒนาโดย สารสนเทศสำนักบริหารการมัธยมศึกษา SESA 2.0