โลโก้เว็บไซต์ สารสนเทศสำนักบริหารมัธยมศึกษาตอนปลาย
  PDF

โครงการโรงเรียนเรียนร่วม

โรงเรียน : สมอทองปทีปพลีผลอุปถัมภ์ สพม.อุทัยธานี ชัยนาท

ประเภท : โรงเรียนเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาลในสถานศึกษา(โรงเรียนสุจริต)

ผลการประเมิน : 0.00

เผยแพร่เมื่อ : 21 เม.ย. 2564 โดย : สุนิสา กมลมาลย์ จำนวนผู้เข้าชม 76 คน


ชื่อโครงการ/กิจกรรม โครงการโรงเรียนเรียนร่วม
ประเภท โรงเรียนเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาลในสถานศึกษา(โรงเรียนสุจริต)
ปีการศึกษา 2563
มาตรฐาน มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน


ผู้รับผิดชอบ
ความเป็นมา การจัดการศึกษาต้องเป็นไปตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช ๒๕๔๒   กล่าวถึงหลักการว่าด้วยพัฒนาคนให้เป็นมนุษย์ที่ สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจสติปัญญา การจัดการศึกษาสำหรับบุคคลซึ่ง บกพร่อง เช่นเดียวกัน ต้องจัดด้วยรูปแบบที่เหมาะสมโดยคำนึงถึงความ สามารถของบุคคลนั้น ๆ เป็นสำคัญ และต้องพัฒนาให้เต็มตามศักยภาพคณะครูผู้รับผิดชอบเด็กกลุ่มที่มีความบกพร่องการเรียนรู้จึงได้ พัฒนาหลักสูตรและแผนการเรียนร่วมสำหรับเด็กพิเศษเป็นรายบุคคล
ดังนั้น  โรงเรียนสมอทองปทีปพลีผลอุปถัมภ์ ถือเป็นหน้าที่ที่ต้องจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้ค้นหาและพัฒนาศักยภาพของตนให้สูงขึ้นรวมทั้งผู้ที่มีความสามารถพิเศษเพื่อที่จะได้รับการส่งเสริมและพัฒนาให้ถึงขีดความสามารถสูงสุด

 
วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ผู้เรียนมีความสามารถในการอ่าน เขียน การสื่อสาร และการคิดคำนวณตามเกณฑ์ของแต่ละระดับชั้น
2.เพื่อให้ผู้เรียนสามารถคิดวิเคราะห์ คิดวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและแก้ปัญหาได้
3. เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะการใช้ชีวิต ยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย และมีสุขภาวะทางร่างกายและจิตสังคมที่สมบูรณ์
4. เพื่อให้ครูจัดกระบวนการเรียนรู้ และให้ผู้เรียนฝึกปฏิบัติจริง มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก และมีการตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ

 
เป้าหมาย ด้านปริมาณ               
1. นักเรียนพิเศษเรียนร่วมร้อยละ ๗๒ มีความสามารถในการอ่าน การเขียนภาษาไทย อยู่ในระดับดี ตามเกณฑ์การประเมินของสถานศึกษา     
2. นักเรียนพิเศษร้อยละ ๗๒ ผ่านการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ อยู่ในระดับดี      
ด้านคุณภาพ  
นักเรียนพิเศษเรียนสามารถใช้ชีวีตอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลายของแต่ละบุคคล และมีสุขภาวะทางร่างกายและจิตสังคมที่ดี และครูมีกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่ให้นักเรียนฝึกปฏิบัติจริง มีการบริหารชั้นเรียนเชิงบวก และมีการตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และสถานศึกษามีการศึกษา วิเคราะห์สภาพปัญหา และความต้องการจำเป็นของสถานศึกษาอย่างเป็นระบบ โดยใช้เทคนิควิธีที่หลากหลาย ได้ข้อมูลสารสนเทศที่ถูกต้อง ครบถ้วน และทันสมัย ทั้งจากแหล่งข้อมูล เอกสาร และผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย
 
ระยะเวลา 9 เม.ย. 2564 - 9 เม.ย. 2564
สถานที่ดำเนินการ โรงเรียนสมอทองปทีปพลีผลอุปถัมภ์
ตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดวามสำเร็จ เกณฑ์ เครื่องมือ
๑. นักเรียนมีความสามารถในการอ่าน การเขียนภาษาไทย ร้อยละ ๗๒ มีความสามารถในการอ่าน การเขียนภาษาไทย อยู่ในระดับดี ตามเกณฑ์การประเมินของสถานศึกษา แบบประเมินการอ่าน และการเขียนภาษาไทย
๒. นักเรียนผ่านการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ ร้อยละ ๗๒ ผ่านการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ อยู่ในระดับดี แบบประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์
๓. นักเรียนอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุขบนความแตกต่างทางวัฒนธรรม/ความคิดเห็นที่แตกต่าง ร้อยละ ๗๐ อยู่ร่วมกันอย่างมีความสุขบนความแตกต่างทางวัฒนธรรม/ความคิดเห็นที่แตกต่าง แบบสังเกตพฤติกรรม
๔. นักเรียนผ่านการประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ด้านความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต ร้อยละ ๗๒ ผ่านการประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ด้านความสามารถในการใช้ทักษะชีวิตในระดับดี แบบสังเกตพฤติกรรม
๕. สถานศึกษามีการศึกษา วิเคราะห์สภาพปัญหา และความต้องการจำเป็นของสถานศึกษาอย่างเป็นระบบ โดยใช้เทคนิควิธีที่หลากหลาย ได้ข้อมูลสารสนเทศที่ถูกต้อง ครบถ้วน และทันสมัย ทั้งจากแหล่งข้อมูล เอกสาร และผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย สถานศึกษามีการศึกษา วิเคราะห์สภาพปัญหา และความต้องการจำเป็นของสถานศึกษาอย่างเป็นระบบ โดยใช้เทคนิควิธีที่หลากหลาย ได้ข้อมูลสารสนเทศที่ถูกต้อง ครบถ้วน และทันสมัย ทั้งจากแหล่งข้อมูล เอกสาร และผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย อยู่ในระดับดี แผน IEP
๖. ครูของทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ จัดการเรียนรู้เน้นกระบวนการคิด และให้ผู้เรียนฝึกปฏิบัติจริง ตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดของ รูร้อยละ ๗๒ ของทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ จัดการเรียนรู้เน้นกระบวนการคิด และให้ผู้เรียนฝึกปฏิบัติจริง ตามมาตรฐานการ แบบประเมินการปฏิบัติงาน
หลักสูตรสถานศึกษา และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ เรียนรู้ ตัวชี้วัดของหลักสูตรสถานศึกษา และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้  
๗. ครูมีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก มีปฏิสัมพันธ์เชิงบวก ส่งผลให้นักเรียนรักการเรียนรู้ ร้อยละ ๗๐ มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก มีปฏิสัมพันธ์เชิงบวก ส่งผลให้นักเรียนรักการเรียนรู้ แบบสอบถาม
๘. ครูมีการตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบและให้ข้อมูลย้อนกลับ นำผลมาพัฒนาผู้เรียน ร้อยละ ๗๒ มีการตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบและให้ข้อมูลย้อนกลับ นำผลมาพัฒนาผู้เรียน แบบประเมินการปฏิบัติงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ ๑. ร้อยละ ๗๒ ของนักเรียนพิเศษมีความสามารถในการอ่าน การเขียนภาษาไทย อยู่ในระดับดี ตามเกณฑ์การประเมินของสถานศึกษา
๒. ร้อยละ ๗๒ ของนักเรียนพิเศษผ่านการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ อยู่ในระดับดี
๓. ร้อยละ ๗๐ ของนักเรียนพิเศษอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุขบนความแตกต่างทางวัฒนธรรม/ความคิดเห็นที่แตกต่าง
๔. ร้อยละ ๗๒ ของนักเรียนพิเศษผ่านการประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ด้านความสามารถในการใช้ทักษะชีวิตในระดับดี
๕. สถานศึกษามีการศึกษา วิเคราะห์สภาพปัญหา และความต้องการจำเป็นของสถานศึกษาอย่างเป็นระบบ โดยใช้เทคนิควิธีที่หลากหลาย ได้ข้อมูลสารสนเทศที่ถูกต้อง ครบถ้วน และทันสมัย ทั้งจากแหล่งข้อมูล เอกสาร และผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย อยู่ในระดับดี
๖. ร้อยละ ๗๒ ของครูทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ จัดการเรียนรู้เน้นกระบวนการคิด และให้ผู้เรียนฝึกปฏิบัติจริง ตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดของหลักสูตรสถานศึกษา และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้
๗. ร้อยละ ๗๐ ของครูมีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก มีปฏิสัมพันธ์เชิงบวก ส่งผลให้นักเรียนรักการเรียนรู้
๘. ร้อยละ ๗๒ ของครูมีการตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบและให้ข้อมูลย้อนกลับนำผลมาพัฒนาผู้เรียน

 
สรุปคะแนนประเมิน 0.00
ไฟล์ประกอบ
ขั้นเตรียมการ
ขั้นดำเนินการ
ขั้นตรวจสอบประเมินผล
ขั้นสรุปและรายงาน
งบประมาณ
การบรรลุตัวชี้วัด
ความพึงพอใจ
ปัญหาและอุปสรรค
ข้อเสนอแนะ
รูปภาพประกอบ

ออกแบบและพัฒนาโดย สารสนเทศสำนักบริหารการมัธยมศึกษา SESA 2.0