ชื่อโครงการ/กิจกรรม |
โรงเรียนคุณภาพ SMT ตามมาตรฐาน สสวท. |
ประเภท |
โรงเรียนคุณภาพ สสวท. (SMT) |
ปีการศึกษา |
2566 |
มาตรฐาน |
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน
1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน 1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน
3.1 จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงและสามารถนำไปประยุกต็ใช้ในชีวิตได้ |
ผู้รับผิดชอบ |
|
ความเป็นมา |
หนึ่งในสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 คือความสามารถในการคิดเป็น ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดอย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณและการคิดอย่างเป็นระบบ เพื่อนำไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือสารสนเทศ เพื่อการตัดสินใจในการแก้ปัญหาอย่างมีสติสมเหตุสมผลเกี่ยวกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม ซึ่งจะเห็นได้ว่าความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดสร้างสรรค์อย่างมีวิจารณญาณ ความคิดสังเคราะห์ คิดไตร่ตรองและมีวิสัยทัศน์มีความจำเป็นสำหรับผู้เรียนมาก
จากเหตุผลดังกล่าว ทำให้โรงเรียนห้วยน้ำหอมวิทยาคารเห็นถึงความสำคัญของการส่งเสริมผู้เรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดสร้างสรรค์มีวิจารณญาณ มีความคิดสังเคราะห์ คิดไตร่ตรองและมีวิสัยทัศน์จึงจัดทำโครงการนี้ขึ้น
|
วัตถุประสงค์ |
1. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้ความสามารถและมีทักษะทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีตามมาตรฐาน สสวท. ที่เน้นการคิดวิเคราะห์ คิดริเริ่มสร้างสรรค์ ประยุกต์ใช้ความรู้ และแก้ปัญหาซึ่งส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
2. เพื่อส่งเสริมให้ครูมีการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ตามหลักสูตรอย่างมีคุณภาพและมาตรฐาน บูรณาการภาษาสากล สามารถสร้างหรือพัฒนา สื่อ นวัตกรรมและวิจัยในชั้นเรียนโดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัลอย่างหลากหลาย สร้างเครือข่ายในการจัดการเรียนรู้
|
เป้าหมาย |
เชิงปริมาณ
1. นักเรียนโรงเรียนห้วยน้ำหอมวิทยาคาร ร้อยละ 80 มีทักษะการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการผลิตผลงานอย่างสร้างสรรค์และมีความรับผิดชอบต่อสังคม
2. ผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาร้อยละ 80 ในโรงเรียนให้การส่งเสริมสนับสนุนและมีส่วนร่วมในกิจกรรม
3. ครู และบุคลากรทางการศึกษาร้อยละ 80 ในโรงเรียนมีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) เป็นไปตามหลักสูตรสถานศึกษา
เชิงคุณภาพ
1. นักเรียนมีความรู้ความสามารถและมีทักษะทางวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีตามมาตรฐาน สสวท.ที่เน้นการคิดวิเคราะห์คิดริเริ่มสร้างสรรค์ประยุกต์ใช้ความรู้และแก้ปัญหาซึ่งต่อผลให้สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
2. ครูมีการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ตามหลักสูตรอย่างมีคุณภาพและมาตรฐาน บูรณาการภาษาสากล สามารถสร้างหรือพัฒนา สื่อ นวัตกรรมและวิจัยในชั้นเรียนโดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัลอย่างหลากหลาย สร้างเครือข่ายในการจัดการเรียนรู้
|
ระยะเวลา |
1 เม.ย. 2566 - 31 มี.ค. 2567 |
สถานที่ดำเนินการ |
โรงเรียนห้วยน้ำหอมวิทยาคาร |
ตัวชี้วัด |
1. นักเรียนร้อยละ 80 เข้าร่วมกิจกรรมในโครงการโรงเรียนคุณภาพ SMT ตามมาตรฐาน สสวท.
2. ผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษา ร้อยละ 80 ใน โรงเรียนให้การส่งเสริมสนับสนุนและมีส่วนร่วมในกิจกรรม
3. ครู และบุคลากรทางการศึกษา ร้อยละ 80 ในโรงเรียนมีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) เป็นไปตามหลักสูตรสถานศึกษา
4. นักเรียนมีความรู้ความสามารถและมีทักษะทางวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีตามมาตรฐาน สสวท.ที่เน้นการคิดวิเคราะห์คิดริเริ่มสร้างสรรค์ประยุกต์ใช้ความรู้และแก้ปัญหาซึ่งต่อผลให้สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
|
ผลที่คาดว่าจะได้รับ |
1. นักเรียนโรงเรียนห้วยน้ำหอมวิทยาคาร ร้อยละ 80 มีทักษะการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการผลิตผลงานอย่างสร้างสรรค์และมีความรับผิดชอบต่อสังคม
2. ผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาร้อยละ 80 ในโรงเรียนให้การส่งเสริมสนับสนุนและมีส่วนร่วมในกิจกรรม
3. ครู และบุคลากรทางการศึกษาร้อยละ 80 ในโรงเรียนมีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) เป็นไปตามหลักสูตรสถานศึกษา
4. นักเรียนมีความรู้ความสามารถและมีทักษะทางวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีตามมาตรฐาน สสวท.ที่เน้นการคิดวิเคราะห์คิดริเริ่มสร้างสรรค์ประยุกต์ใช้ความรู้และแก้ปัญหาซึ่งต่อผลให้สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
5. ครูมีการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ตามหลักสูตรอย่างมีคุณภาพและมาตรฐาน บูรณาการภาษาสากล สามารถสร้างหรือพัฒนา สื่อ นวัตกรรมและวิจัยในชั้นเรียนโดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัลอย่างหลากหลาย สร้างเครือข่ายในการจัดการเรียนรู้ |
สรุปคะแนนประเมิน |
92.00 |
ไฟล์ประกอบ |
|
ขั้นเตรียมการ |
|
ขั้นดำเนินการ |
|
ขั้นตรวจสอบประเมินผล |
|
ขั้นสรุปและรายงาน |
|
งบประมาณ |
|
การบรรลุตัวชี้วัด |
|
ความพึงพอใจ |
|
ปัญหาและอุปสรรค |
|
ข้อเสนอแนะ |
|
รูปภาพประกอบ |
|