โลโก้เว็บไซต์ สารสนเทศสำนักบริหารมัธยมศึกษาตอนปลาย
  PDF

โครงการแปลงเกษตรสาธิตเศรษฐกิจพอเพียง2564

โรงเรียน : โซ่พิสัยพิทยาคม สพม.บึงกาฬ

ประเภท : โรงเรียนที่จัดกิจกรรมการเรียนรู้ฯ ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

ผลการประเมิน : 5

เผยแพร่เมื่อ : 3 มิ.ย. 2567 โดย : อรุณี วิชาทิตย์ จำนวนผู้เข้าชม 21 คน


ชื่อโครงการ/กิจกรรม โครงการแปลงเกษตรสาธิตเศรษฐกิจพอเพียง2564
ประเภท โรงเรียนที่จัดกิจกรรมการเรียนรู้ฯ ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปีการศึกษา 2564
มาตรฐาน มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน
     1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน
     1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
     2.1 มีเป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกิจที่สถานศึกษากำหนดขัดเจน
     2.2 มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา
     2.3 ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาและทุกกลุ่มเป้าหมาย
     2.4 พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ
     2.5 จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ
     2.6 จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
     3.1 จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงและสามารถนำไปประยุกต็ใช้ในชีวิตได้
     3.2 ใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้
     3.3 มีการบริหารจัดการชั้นเรียบเชิงบวก
     3.4 ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบและนำผลมาพัฒนาผู้เรียน
     3.5 มีการแลกเปลียนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้
ผู้รับผิดชอบ
ความเป็นมา 1. หลักการและเหตุผล
เศรษฐกิจพอเพียงเป็นนโยบายของรัฐบาลที่โรงเรียนจะต้องมีการปฏิบัติ และนำมาใช้ในการศึกษาเรียนรู้ให้มีความเข้าใจและสามารถนำไปปฏิบัติในชีวิตประจำวัน  ซึ่งเป็นเรื่องที่ชาวไทยทุกคนต้องมีความตระหนักและยึดถือเอาเป็นแนวทางในการปฏิบัติงานด้านต่างๆเพราะเป็นเรื่องที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงเป็นผู้ให้แนวทางและทรงดำริไว้ให้แก่ปวงชนชาวไทยได้ปฏิบัติให้เกิดขึ้นในชีวิตประจำวัน  ซึ่งเป็นผลประโยชน์แก่ผู้ได้ปฏิบัติ  ในเรื่องของการประหยัด  อดออมรู้จักการใช้ชีวิตในด้านการดำเนินชีวิต      
ดังนั้นโรงเรียนโซ่พิสัยพิทยาคม จึงจัดให้มีโครงการขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษา โดยน้อมนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเข้ามาเป็นหลักการในการบริหารจัดการสถานศึกษาในทุกมิติ มีการจัดการเรียนการสอนที่สอดแทรกกระบวนการปลูกฝังปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงให้เป็นหลักคิดและหลักปฏิบัติของผู้เรียนในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ มีการพัฒนาบุคลากรของสถานศึกษาให้ได้เรียนรู้และพัฒนาการปฏิบัติตนและปฏิบัติหน้าที่โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงอย่างต่อเนื่อง มีสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่เอื้อต่อการบ่มเพาะอุปนิสัยอยู่อย่างพอเพียง เช่น ความสะอาด ร่มรื่น ปลอดภัย มีฐานเรียนรู้ต่างๆ ที่ใช้ทรัพยากรอย่างประหยัด คุ้มค่า สอดคล้องกับบริบทของโรงเรียน
 
วัตถุประสงค์ 2.วัตถุประสงค์
           2.1 ผลผลิต (OUTPUT)
2.1.1. เพื่อให้นักเรียนทุกคนได้รับการพัฒนาทักษะการดำรงชีวิตที่มีคุณภาพ ตามหลักปรัชญา     
ของเศรษฐกิจพอเพียง
2.1.2. เพื่อให้นักเรียนทุกคนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน
2.2 ผลลัพธ์ (OUTCOME)
      2.2.1. เพื่อให้โรงเรียนได้จัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ความสำนึกในความเป็นชาติไทย และ                    วิถีชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
เป้าหมาย 3. เป้าหมาย
          3.1 เชิงปริมาณ
3.1.1. นักเรียนทุกคนได้มีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมโดยนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้
          3.2 เชิงคุณภาพ
3.2.1 นักเรียนมีทักษะและความรู้จากการทำกิจกรรมโดยนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ และสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
3.2.2 นักเรียนมีความรัก ความสามัคคี ให้ความช่วยเหลือซึ่งกันและกัน
       
 
ระยะเวลา 3 พ.ค. 2565 - 3 พ.ค. 2566
สถานที่ดำเนินการ โรงเรียนโซ่พิสัยพิทยาคม
ตัวชี้วัด กิจกรรมที่ 1  เลี้ยงปลา
ผลผลิต(outputs)  ร้อยละ 90 ของนักเรียนได้รับความรู้จากการทำกิจกรรมเลี้ยงปลา
ผลลัพธ์(outcome) นักเรียนสามารถนำความรู้ และทักษะชีวิตไปใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม
กิจกรรมที่ 2 เลี้ยงไก่ไข่
ผลผลิต(outputs)  ร้อยละ 90 ของนักเรียนได้รับความรู้จากการทำกิจกรรมเลี้ยงไก่ไข่
ผลลัพธ์(outcome) นักเรียนสามารถนำความรู้ และทักษะชีวิตไปใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม
กิจกรรมที่ 3 ปลูกผัก ปลูกเห็ด
ผลผลิต(outputs)  ร้อยละ 90 ของนักเรียนได้รับความรู้จากการทำกิจกรรมปลูกผัก ปลูกเห็ด

ผลลัพธ์(outcome) นักเรียนสามารถนำความรู้ และทักษะชีวิตไปใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม

     กิจกรรมที่ 4 ฝึกอาชีพ
ผลผลิต(outputs)  ร้อยละ 90 ของนักเรียนได้รับความรู้จากการทำกิจกรรมฝึกอาชีพผลลัพธ์(outcome) นักเรียนสามารถนำความรู้ และทักษะชีวิตไปใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม
กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมถอดบทเรียน
ผลผลิต(outputs)  ร้อยละ 90 ของนักเรียนสามารถถอดบทเรียนจากการทำกิจกรรมต่างๆ ตามโครงการ และนำเสนอต่อผู้อื่นได้
ผลลัพธ์(outcome) นักเรียนเกิดองค์ความรู้ และประสบการณ์ ที่นำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้คงทน
 
ผลที่คาดว่าจะได้รับ 7. การวิเคราะห์การใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
   หลักพอประมาณ
          - พอประมาณกับเวลาที่ใช้ดำเนินกิจกรรม
          - พอประมาณกับวัสดุ อุปกรณ์ต่างๆ
          - พอประมาณกับงบประมาณที่ใช้ในการทำโครงการ
          - พอประมาณกับจำนวนนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรม
   หลักการมีเหตุผล
          - เป็นการจัดกิจกรรมตามนโยบาย
          - พัฒนาผู้เรียนให้สมบูรณ์ทั้งร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญา
          - ยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้
          - เน้นจัดการกิจกรรมที่พัฒนาผู้เรียนตามความสามารถ
   หลักภูมิคุ้มกัน
          - มีการตั้งกรรมการดำเนินงานและเตรียมจัดกิจกรรมเป็นอย่างดี
          - มีการตั้งกรรมการดำเนินงานรับผิดชอบด้านต่างๆที่ชัดเจนมีการประชุมปรึกษาหารืออย่างสม่ำเสมอ
          - มีการประชุมปรึกษาหารืออย่างเสมอ
          - มีการประสานงานกับกลุ่มเป้าหมาย ครู ผู้ปกครอง ชุมชน และผู้เกี่ยวข้อง
          - มีการประสานการทำงานเป็นระยะแล้วนำผลมาใช้ปรับปรุงการทำงานต่อไป
          - มีการประเมินการทำงาน สรุปงาน แล้วนำผลมาใช้ปรับปรุง วางแผนการทำงานครั้งต่อไป
   เงื่อนไขคุณธรรม
          - ความรับผิดชอบในหน้าที่ของครู นักเรียน
          - ซื่อสัตย์ สามัคคี มีวินัย จิตอาสา ฯลฯ
   เงื่อนไขความรู้
          - การจัดวางบุคคลให้เหมาะกับงาน
          - ความรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
   นำสู่สมดุลอย่างมั่นคงและยั่งยืนใน 4 มิติ คือ
   1. สังคม
          - การช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ในการทำงาน ความสามัคคี มีวินัย

   2.เศรษฐกิจ
          - นักเรียนมีรายได้จากการมาโรงเรียน
          - นักเรียนสามารถนำไปใช้ประกอบอาชีพได้จริง
   3. สิ่งแวดล้อม
          - ส่งเสริมวัฒนธรรมไทยในเรื่องการทำงานร่วมกัน
          - ส่งเสริมความสัมพันธ์ระหว่าง นักเรียนและครู
   4. วัฒนธรรม
          - สร้างค่านิยมที่ถูกต้องในการใช้ชีวิตของเยาชน
          - ส่งเสริมวัฒนธรรมไทยในเรื่องการทำงานร่วมกัน สร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่าง โรงเรียนกับผู้ปกครอง และชุมชน

8.  ผลที่คาดว่าจะได้รับ
          โรงเรียนเกิดแหล่งเรียนรู้ ในเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง นักเรียนมีทักษะและความรู้ในการทำกิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียง มีความรักสามัคคี ให้ความร่วมมือช่วยเหลือเกื้อกูลกัน  สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างมีความสุข        

 
สรุปคะแนนประเมิน 5
ไฟล์ประกอบ สรุปโครงการปี64(1)ใหม่.docx
ขั้นเตรียมการ
ขั้นดำเนินการ
ขั้นตรวจสอบประเมินผล
ขั้นสรุปและรายงาน
งบประมาณ 5.  งบประมาณ
          เงินค่าจัดการเรียนการสอน                   16,000           บาท
          เงินอื่น ๆ ...................................                        -          บาท
                             รวม                        16,000           บาท
กิจกรรมที่ 1  เลี้ยงปลา
รายการ/กิจกรรม ที่ใช้งบประมาณ งบประมาณ รายจ่าย
ค่าตอบแทน ใช้สอย วัสดุ
 - ค่าพันธ์ปลา 2,000 - 2,000 -
- ค่าอาหารปลา 1,500 - 1,500 -
รวม 3,500 - 3,500 -
 หมายเหตุ ถัวจ่ายได้ทุกรายการ

    กิจกรรมที่ 2 เลี้ยงไก่ไข่
รายการ/กิจกรรม ที่ใช้งบประมาณ งบประมาณ รายจ่าย
ค่าตอบแทน ใช้สอย วัสดุ
 - ค่าพันธ์ไก่ไข่ 2,000 - 2,000 -
- ค่าอาหารไก่ 1,000 - 1,000 -
- ค่าสร้างโรงเรือน 1,500 - - 1,500
รวม 4,500 - 3,000 1,500

     กิจกรรมที่ 3 ปลูกผัก
รายการ/กิจกรรม ที่ใช้งบประมาณ งบประมาณ รายจ่าย
ค่าตอบแทน ใช้สอย วัสดุ
 - ค่าเมล็ดพันธ์ 500 - 500 -
 - ค่าหัวเชื้อเห็ด 2,000   2,000  
- ค่าสร้างโรงเรือนเห็ด 3,500     3,500
- ค่าปุ๋ย 1,000 - 1000 -
รวม 7,000 - 3,500 3,500
 หมายเหตุ ถัวจ่ายได้ทุกรายการ

     กิจกรรมที่ 4 ฝึกอาชีพ
รายการ/กิจกรรม ที่ใช้งบประมาณ งบประมาณ รายจ่าย
ค่าตอบแทน ใช้สอย วัสดุ
- ค่าวัสดุ อุปกรณ์ฝึกอาชีพ 1,000 - - 1,000
รวม 1,000 - - 1,000
หมายเหตุ ถัวจ่ายได้ทุกรายการ
    

 
การบรรลุตัวชี้วัด 7. การวิเคราะห์การใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
   หลักพอประมาณ
          - พอประมาณกับเวลาที่ใช้ดำเนินกิจกรรม
          - พอประมาณกับวัสดุ อุปกรณ์ต่างๆ
          - พอประมาณกับงบประมาณที่ใช้ในการทำโครงการ
          - พอประมาณกับจำนวนนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรม
   หลักการมีเหตุผล
          - เป็นการจัดกิจกรรมตามนโยบาย
          - พัฒนาผู้เรียนให้สมบูรณ์ทั้งร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญา
          - ยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้
          - เน้นจัดการกิจกรรมที่พัฒนาผู้เรียนตามความสามารถ
   หลักภูมิคุ้มกัน
          - มีการตั้งกรรมการดำเนินงานและเตรียมจัดกิจกรรมเป็นอย่างดี
          - มีการตั้งกรรมการดำเนินงานรับผิดชอบด้านต่างๆที่ชัดเจนมีการประชุมปรึกษาหารืออย่างสม่ำเสมอ
          - มีการประชุมปรึกษาหารืออย่างเสมอ
          - มีการประสานงานกับกลุ่มเป้าหมาย ครู ผู้ปกครอง ชุมชน และผู้เกี่ยวข้อง
          - มีการประสานการทำงานเป็นระยะแล้วนำผลมาใช้ปรับปรุงการทำงานต่อไป
          - มีการประเมินการทำงาน สรุปงาน แล้วนำผลมาใช้ปรับปรุง วางแผนการทำงานครั้งต่อไป
   เงื่อนไขคุณธรรม
          - ความรับผิดชอบในหน้าที่ของครู นักเรียน
          - ซื่อสัตย์ สามัคคี มีวินัย จิตอาสา ฯลฯ
   เงื่อนไขความรู้
          - การจัดวางบุคคลให้เหมาะกับงาน
          - ความรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
   นำสู่สมดุลอย่างมั่นคงและยั่งยืนใน 4 มิติ คือ
   1. สังคม
          - การช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ในการทำงาน ความสามัคคี มีวินัย

   2.เศรษฐกิจ
          - นักเรียนมีรายได้จากการมาโรงเรียน
          - นักเรียนสามารถนำไปใช้ประกอบอาชีพได้จริง
   3. สิ่งแวดล้อม
          - ส่งเสริมวัฒนธรรมไทยในเรื่องการทำงานร่วมกัน
          - ส่งเสริมความสัมพันธ์ระหว่าง นักเรียนและครู
   4. วัฒนธรรม
          - สร้างค่านิยมที่ถูกต้องในการใช้ชีวิตของเยาชน
          - ส่งเสริมวัฒนธรรมไทยในเรื่องการทำงานร่วมกัน สร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่าง โรงเรียนกับผู้ปกครอง และชุมชน

 
ความพึงพอใจ สรุปแบบสอบถามความพึงพอใจ (ภาพรวม)
โครงการ “แปลงสาธิตเศรษฐกิจพอเพียง”
จำนวนผู้กรอกแบบสำรวจ  /   นักเรียน 200 คน        /               ครู  50  คน                     /   รวมทั้งสิ้น 250 คน
รายละเอียด ระดับความพึงพอใจ ค่าเฉลี่ย(X)
5 4 3 2 1
1. กระบวนการ ขั้นตอนการให้บริการ  
1.1 การประชาสัมพันธ์โครงการ ฯ 104 124 22     4.33
1.2 ความเหมาะสมของสถานที่ 95 123 32     4.25
1.3 ความเหมาะสมของระยะเวลา 70 180       4.28
1.4 การมีส่วนร่วมของครู –นักเรียนในกิจกรรม
นักเรียนในกิจกรรม
63 187       4.25
1.5 ผลสำเร็จของการจัดกิจกรรม 44 193 13     4.12
2. คุณภาพการให้บริการ  
2.1  ท่านได้รับความรู้ แนวคิด ทักษะและประสบการณ์ใหม่ ๆ จากโครงการ 55 195       4.22
2.2  ท่านสามารถนำสิ่งที่ได้รับจากโครงการ/กิจกรรมนี้ไปใช้ในการปฏิบัติงาน 136 86 28     4.43
2.3  สิ่งที่ท่านได้รับจากโครงการ/กิจกรรมครั้งนี้ตรงตามความคาดหวังของท่านหรือไม่ 101 118 31     4.28
2.4  โครงการ/กิจกรรมนี้เอื้ออำนวยต่อการเรียนรู้และพัฒนาความสามารถของท่าน 148 102       4.59
2.5  ประโยชน์ที่ท่านได้รับจากโครงการ/กิจกรรม 200 50       4.80
3. ความพึงพอใจของท่านต่อภาพรวมของโครงการ 135 115       4.54
รวม 1151 1473 126     11 ข้อ
รวมคะแนน 12,025/13,750 48.10
คิดเป็นร้อยละ /  ค่าเฉลี่ยรวม (X) 87.45 4.81

หมายเหตุ  1.ข้อมูลที่ได้นำมาคิดเป็นร้อยละ แล้วนำมาเทียบเป็นระดับคุณภาพ ถ้าค่าร้อยละอยู่ระหว่าง 76–100  ถือว่ากิจกรรมอยู่ในเกณฑ์ดี ,  51 –75  อยู่ในเกณฑ์พอใช้ ,  ต่ำกว่า 51  อยู่ในเกณฑ์ควรปรับปรุง
              2.ค่า เฉลี่ย(X) ในแต่ละข้อคะแนนเต็ม = 5.00   มีไว้เพื่อให้ทราบว่าการปฏิบัติกิจกรรมมีความเหมาะสมมาก-น้อยเพียงใด   ถ้าอยู่ระหว่าง  3.76 – 5.00  ถือว่ากิจกรรมอยู่ในเกณฑ์ดี,  2.51 – 3.75 ถือว่ากิจกรรมอยู่ในเกณฑ์พอใช้, 1.00 – 2.50   ถือว่า กิจกรรมอยู่ในเกณฑ์ควรปรับปรุง   และใช้ตรวจสอบได้ว่าค่าร้อยละที่หาได้ถูกต้องหรือไม่  ถ้าไม่ถูกต้องให้คำนวณใหม่
สรุปผลการสำรวจ
                                   /      ค่าร้อยละที่ได้  =  87.45      ,   /       ค่าเฉลี่ยรวม (X) ที่ได้    =    4.81
   /      กิจกรรมอยู่ในเกณฑ์ดี          กิจกรรมอยู่ในเกณฑ์พอใช้            กิจกรรมอยู่ในเกณฑ์ควรปรับปรุง










สรุปแบบสอบถามความพึงพอใจ (ครู)
โครงการ “แปลงสาธิตเศรษฐกิจพอเพียง”
จำนวนผู้กรอกแบบสำรวจ  /   นักเรียน - คน        /       ครู  50  คน                     /   รวมทั้งสิ้น 50 คน
รายละเอียด ระดับความพึงพอใจ ค่าเฉลี่ย(X)
5 4 3 2 1
1. กระบวนการ ขั้นตอนการให้บริการ  
1.1 การประชาสัมพันธ์โครงการ ฯ 34 16       4.68
1.2 ความเหมาะสมของสถานที่ 28 22       4.56
1.3 ความเหมาะสมของระยะเวลา 15 35       4.30
1.4 การมีส่วนร่วมของครู –นักเรียนในกิจกรรม
นักเรียนในกิจกรรม
29 21       4.58
1.5 ผลสำเร็จของการจัดกิจกรรม 21 29       4.42
 
2. คุณภาพการให้บริการ
2.1  ท่านได้รับความรู้ แนวคิด ทักษะและประสบการณ์ใหม่ ๆ จากโครงการ 19 31       4.38
2.2  ท่านสามารถนำสิ่งที่ได้รับจากโครงการ/กิจกรรมนี้ไปใช้ในการปฏิบัติงาน 38 12       4.76
2.3  สิ่งที่ท่านได้รับจากโครงการ/กิจกรรมครั้งนี้ตรงตามความคาดหวังของท่านหรือไม่ 11 39       2.38
2.4  โครงการ/กิจกรรมนี้เอื้ออำนวยต่อการเรียนรู้และพัฒนาความสามารถของท่าน 34 16       4.68
2.5  ประโยชน์ที่ท่านได้รับจากโครงการ/กิจกรรม 35 15       4.70
3. ความพึงพอใจของท่านต่อภาพรวมของโครงการ 14 36       4.28
รวม 278 272       11 ข้อ
รวมคะแนน 2,478/2,750 49.56
 
คิดเป็นร้อยละ /  ค่าเฉลี่ยรวม (X) 90.11 4.95

หมายเหตุ  1.ข้อมูลที่ได้นำมาคิดเป็นร้อยละ แล้วนำมาเทียบเป็นระดับคุณภาพ ถ้าค่าร้อยละอยู่ระหว่าง 76–100  ถือว่ากิจกรรมอยู่ในเกณฑ์ดี ,  51 –75  อยู่ในเกณฑ์พอใช้ ,  ต่ำกว่า 51  อยู่ในเกณฑ์ควรปรับปรุง
              2.ค่า เฉลี่ย(X) ในแต่ละข้อคะแนนเต็ม = 5.00   มีไว้เพื่อให้ทราบว่าการปฏิบัติกิจกรรมมีความเหมาะสมมาก-น้อยเพียงใด   ถ้าอยู่ระหว่าง  3.76 – 5.00  ถือว่ากิจกรรมอยู่ในเกณฑ์ดี,  2.51 – 3.75 ถือว่ากิจกรรมอยู่ในเกณฑ์พอใช้, 1.00 – 2.50   ถือว่า กิจกรรมอยู่ในเกณฑ์ควรปรับปรุง   และใช้ตรวจสอบได้ว่าค่าร้อยละที่หาได้ถูกต้องหรือไม่  ถ้าไม่ถูกต้องให้คำนวณใหม่
สรุปผลการสำรวจ
                                   /      ค่าร้อยละที่ได้  =  84.56      ,   /       ค่าเฉลี่ยรวม (X) ที่ได้    =    4.95
   /      กิจกรรมอยู่ในเกณฑ์ดี         กิจกรรมอยู่ในเกณฑ์พอใช            กิจกรรมอยู่ในเกณฑ์ควรปรับปรุง










สรุปแบบสอบถามความพึงพอใจ (นักเรียน)
โครงการ “แปลงสาธิตเศรษฐกิจพอเพียง”
จำนวนผู้กรอกแบบสำรวจ  /   นักเรียน 200 คน        /               ครู  -  คน                     /   รวมทั้งสิ้น 200 คน
 
รายละเอียด ระดับความพึงพอใจ ค่าเฉลี่ย(X)
5 4 3 2 1
1. กระบวนการ ขั้นตอนการให้บริการ  
1.1 การประชาสัมพันธ์โครงการ ฯ 70 108 22     3.39
1.2 ความเหมาะสมของสถานที่ 67 101 32     3.34
1.3 ความเหมาะสมของระยะเวลา 55 145       3.42
1.4 การมีส่วนร่วมของครู –นักเรียนในกิจกรรม
ปัญหาและอุปสรรค -
ข้อเสนอแนะ -
รูปภาพประกอบ

ออกแบบและพัฒนาโดย สารสนเทศสำนักบริหารการมัธยมศึกษา SESA 2.0