โลโก้เว็บไซต์ สารสนเทศสำนักบริหารมัธยมศึกษาตอนปลาย
  PDF

ส่งเสริมศักยภาพห้องเรียนพิเศษ(วิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์)

โรงเรียน : ลำทับประชานุเคราะห์ สพม.ตรัง กระบี่

ประเภท : โรงเรียนคุณภาพประจำอำเภอ

ผลการประเมิน : 0.00

เผยแพร่เมื่อ : 4 มิ.ย. 2567 โดย : Punpilai Kasisom จำนวนผู้เข้าชม 22 คน


ชื่อโครงการ/กิจกรรม ส่งเสริมศักยภาพห้องเรียนพิเศษ(วิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์)
ประเภท โรงเรียนคุณภาพประจำอำเภอ
ปีการศึกษา 2567
มาตรฐาน มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน
     1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน


     3.1 จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงและสามารถนำไปประยุกต็ใช้ในชีวิตได้
     3.2 ใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้
     3.3 มีการบริหารจัดการชั้นเรียบเชิงบวก
     3.4 ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบและนำผลมาพัฒนาผู้เรียน
ผู้รับผิดชอบ
ความเป็นมา เพื่อเป็นการส่งเสริมให้นักเรียนห้องเรียนวิทยาศาสตร์คริตศาสตร์ มีประสบการณ์ความรู้และทักษะที่จำเป็นตามหลักสูตรวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ มีทักษะในการพัฒนาตนเอง มีเจตคติที่ดีต่อวิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ มีทักษะในการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ คิดไตร่ตรอง คิดอย่างมีวิจารณญาณและมีวิสัยทัศน์ จึงจัดทำโครงการส่งเสริมศักยภาพห้องเรียนพิเศษ (วิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์)ขึ้น
วัตถุประสงค์ 1. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีประสบกาณณ์ ความรู้ทักษะในการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ และทักษะทางวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์
2. เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์
3. เพื่อเสริมสร้างทัศนคติที่ดีต่อวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์
เป้าหมาย เชิงปริมาณ
1. นักเรียนโรงเรียนลำทับประชานุเคราะห์ จำนวน 30 คน
เชิงคุณภาพ
1. นักเรียนมีประสบการณ์ทักษะในการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ และทักษะทางวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์
2. นักเรียนมีเจตคติที่ดีต่อวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์
3. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์เพิ่มสูงขึ้น
ระยะเวลา 1 เม.ย. 2567 - 1 เม.ย. 2567
สถานที่ดำเนินการ โรงเรียนลำทับประชานุเคราะห์
ตัวชี้วัด 1. นักเรียนร้อยละ 80 พึงพอใจในการร่วมกิจกรรม
2. นักเรียนร้อยละ 80 ได้รับประสบการณ์ทักษะในการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ และทักษะทางวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์
ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. นักเรียนมีประสบการณ์ทักษะในการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ และทักษะทางวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์
2. นักเรียนมีเจตคติที่ดีต่อวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์
3. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์เพิ่มสูงขึ้น
สรุปคะแนนประเมิน 0.00
ไฟล์ประกอบ
ขั้นเตรียมการ
ขั้นดำเนินการ
ขั้นตรวจสอบประเมินผล
ขั้นสรุปและรายงาน
งบประมาณ
การบรรลุตัวชี้วัด
ความพึงพอใจ
ปัญหาและอุปสรรค
ข้อเสนอแนะ
รูปภาพประกอบ

ออกแบบและพัฒนาโดย สารสนเทศสำนักบริหารการมัธยมศึกษา SESA 2.0