โลโก้เว็บไซต์ สารสนเทศสำนักบริหารมัธยมศึกษาตอนปลาย
  PDF

พัฒนาการเรียนการสอนการจัดการศึกษาเรียนร่วม

โรงเรียน : วังเหนือวิทยา สพม.ลำปาง ลำพูน

ประเภท : โรงเรียนโครงการทวิศึกษา

ผลการประเมิน : 0.00

เผยแพร่เมื่อ : 13 ก.ย. 2561 โดย :   จำนวนผู้เข้าชม 61 คน


ชื่อโครงการ/กิจกรรม พัฒนาการเรียนการสอนการจัดการศึกษาเรียนร่วม
ประเภท โรงเรียนโครงการทวิศึกษา
ปีการศึกษา 2561
มาตรฐาน มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน
     1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน
     1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
     2.2 มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
     3.1 จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงและสามารถนำไปประยุกต็ใช้ในชีวิตได้
     3.2 ใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้
     3.3 มีการบริหารจัดการชั้นเรียบเชิงบวก
     3.4 ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบและนำผลมาพัฒนาผู้เรียน
     3.5 มีการแลกเปลียนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้
ผู้รับผิดชอบ
ความเป็นมา สืบเนื่องจากกระทรวงศึกษาธิการมีนโยบายในการผลิตผู้เรียนด้านอาชีวศึกษาให้มากขึ้น เพื่อรองรับการจ้างงาน ทั้งภาคธุรกิจบริการ ภาคอุตสาหกรรม และภาคการเกษตร โดยเฉพาะอย่างยิ่งกลุ่มอาชีพที่เป็นความต้องการของตลาดแรงงานที่กำลังขยายตัวในทุกภาคส่วน กระทรวงศึกษาธิการซึ่งเป็นหน่วยงานที่ผลิตกำลังคนจำเป็นอย่างยิ่งต้องเร่งประชาสัมพันธ์ สร้างความเข้าใจ ให้นักเรียนได้หันมาสนใจเรียนทางด้านอาชีพซึ่งมีตลาดรองรับอย่างแน่นอนให้มากขึ้น  แต่เนื่องจากสภาพปัจจุบันค่านิยมของผู้ปกครองและผู้เรียนมุ่งที่จะสนับสนุนให้มีการเรียนสายสามัญเพื่อเข้าสู่ระดับ
อุดมศึกษา ส่งผลให้ขาดกำลังคนในภาคแรงงานเป็นอย่างมาก รัฐบาลจึงมีนโยบายที่จะให้มีการจัดการศึกษาหลักสูตรเรียนร่วมอาชีวศึกษาและมัธยมศึกษาตอนปลายควบคู่กันไป เพื่อให้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายมีความรู้พื้นฐานด้านอาชีพและสามารถเข้าสู่ตลาดแรงงานได้ทันที การจัดการอาชีวศึกษาและฝึกอบรมวิชาชีพถือเป็นอีกช่องทางหนึ่งที่สอดคล้องและสัมพันธ์กับตลาดแรงงาน สามารถผลิตกำลังคนในระดับฝีมือที่ได้มาตรฐาน สำนักงานคณะกรรมการ
การอาชีวศึกษาได้ตระหนักถึงความสำคัญดังกล่าว จึงจัดให้มีการจัดการอาชีวศึกษาอย่างหลากหลายยิ่งขึ้น ทั้งนี้เพื่อเป็นการเพิ่มโอกาสทางการศึกษาด้านวิชาชีพให้แก่ประชาชนวัยเรียนและวัยทำงานตามความถนัด ความสนใจ และสามารถเข้าถึงการอาชีวศึกษาได้ง่ายขึ้น โดยการขยายวิชาชีพและกลุ่มเป้าหมายเข้าสู่ระบบการจัดการอาชีวศึกษาให้ชัดเจน ทั่วถึงและรวดเร็วขึ้น เพื่อเป็นทางเลือกสำหรับผู้เรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายที่มีความประสงค์จะเรียนควบคู่กันไปทั้งสายสามัญและสายอาชีพ เมื่อเรียนครบตามหลักสูตร ผู้เรียนสามารถสำเร็จการศึกษาทั้งหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลายสายสามัญและหลักสูตรสายอาชีพไปพร้อมกัน ทั้งนี้ ได้มีการกำหนดการจัดการเรียนการสอนโดยการทำความตกลงร่วมมือกันในการจัดการเรียนการสอนระหว่างสถานศึกษาที่เปิดสอนมัธยมศึกษากับสถานศึกษา ที่เปิดสอนหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)
 
วัตถุประสงค์ . เพื่อเพิ่มโอกาสทางการศึกษาด้านอาชีวศึกษาแก่ประชาชนวัยเรียนและวัยทำงานตามความถนัดและความสนใจ
. เพื่อขยายกลุ่มเป้าหมายไปสู่นักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในการเข้าสู่หลักสูตรอาชีวศึกษา
. เพื่อเป็นทางเลือกสำหรับผู้เรียนในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายที่มีความประสงค์จะเรียนควบคู่ไปกับหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ
 
เป้าหมาย 1. เป้าหมายเชิงปริมาณ          
นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.๔-๖) เริ่มปีการศึกษา ๒๕๕๙


2. เป้าหมายเชิงคุณภาพ 
นักเรียนได้เรียนสายอาชีพ มีทักษะวิชาชีพ สามารถนำไปศึกษาต่อและประกอบอาชีพได้
ระยะเวลา 16 มิ.ย. 2559 - 28 ส.ค. 2561
สถานที่ดำเนินการ โรงเรียนวังเหนือวิทยา, วิทยาลัยการอาชีพแจ้ห่ม
ตัวชี้วัด นักเรียนร้อยละ 90 สามารถเรียนจบและได้รับวุฒิการศึกษา ม.6 แบะ ปวช.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  • ผู้เรียนได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานและมีทักษะวิชาชีพตามหลักสูตรอาชีวศึกษา
  • ผู้เรียนสามารถเข้าสู่ตลาดแรงงานอย่างมีคุณภาพ
  • ผู้เรียนมีทางเลือกในการศึกษาต่อที่หลากหลายมากขึ้น
สรุปคะแนนประเมิน 0.00
ไฟล์ประกอบ
ขั้นเตรียมการ
ขั้นดำเนินการ
ขั้นตรวจสอบประเมินผล
ขั้นสรุปและรายงาน
งบประมาณ ตาราง 1 การใช้จ่ายงบประมาณ
รายการ งบประมาณที่กำหนดไว้ในแผน งบประมาณที่ใช้จ่ายจริง
1.เงินอุดหนุนการศึกษา    
2.เงินรายได้สถานศึกษา    
3.อื่นๆ    
รวม    
คงเหลือ  
การบรรลุตัวชี้วัด 1.ผลสำเร็จตามตัวชี้วัดความสำเร็จ
ตัวชี้วัดความสำเร็จ ร้อยละของผลสำเร็จ
เป้าหมาย ผลการดำเนิน
1.    
2.    
3.    
4.    
2. สรุปผลสำเร็จของโครงการ
    ผลสำเร็จของโครงการโดยรวม                               คิดเป็นร้อยละ ..................
    ระดับความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการโดยรวม      มีค่าเฉลี่ย ..................
                                                                          อยู่ในระดับ ..................
    เกณฑ์การสรุปผลค่าเฉลี่ยของระดับความพึงพอใจ
             ค่าเฉลี่ย ......................... หมายถึง ระดับ ............
             ค่าเฉลี่ย ......................... หมายถึง ระดับ ............
             ค่าเฉลี่ย ......................... หมายถึง ระดับ ............
             ค่าเฉลี่ย ......................... หมายถึง ระดับ ............
             ค่าเฉลี่ย ......................... หมายถึง ระดับ ............
ความพึงพอใจ ตาราง 2 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม/แบบประเมิน
ข้อมูลทั่วไป จำนวน (คน) ร้อยละ
1. เพศ
    1.1 ชาย
    1.2 หญิง

23
22

2
3
รวม 23 22
2. อายุ
    2.1 น้อยกว่า 25 ปี
    2.2 25-35 ปี
    2.3 36-45 ปี
    2.4 มากกว่า 45 ปี

1
2
3
4

3
4
5
5
รวม 23 34
จากตาราง 2 พบว่า ผู้เข้าร่วมโครงการ/กิจกรรม ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงมีจำนวน ............. คน (ร้อยละ …………….) อายุ 25-35 ปี มีจำนวน ............ คน (ร้อยละ .............) รองลงมา 36-45 ปี มีจำนวน ............ คน (ร้อยละ ...............) ฯลฯ ตอนที่ 3 ความพึงพอใจในของผู้เข้าร่วมโครงการ/กิจกรรม
รายการประเมิน S.D. ร้อยละ ระดับความพึงพอใจ
1.
2.
3.
4.
5.
       
รวม        
จากตาราง 3 พบว่า ผู้เข้าร่วมโครงการ/กิจกรรม มีความพึงพอใจในการจัดโครงการในภาพรวม อยู่ในระดับ ................ มีค่าคะแนนเฉลี่ย ................... (ร้อยละ ................) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านหรือราข้อ พบว่า ผู้เข้าร่วมโครงการ/กิจกรรม มีความพึงพอใจในด้าน ................................. หรือ ข้อคำถาม .................. ในระดับ ................ มีค่าคะแนนเฉลี่ย ................... (ร้อยละ ................) ฯลฯ
ปัญหาและอุปสรรค
ข้อเสนอแนะ
รูปภาพประกอบ

ออกแบบและพัฒนาโดย สารสนเทศสำนักบริหารการมัธยมศึกษา SESA 2.0