โลโก้เว็บไซต์ สารสนเทศสำนักบริหารมัธยมศึกษาตอนปลาย
  PDF

การเสริมสร้างสุขภาวะในสถานศึกษาในพื้นที่จังหวัดสุรินทร์

โรงเรียน : สุรินทร์พิทยาคม สพม.สุรินทร์

ประเภท : โรงเรียนเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาลในสถานศึกษา(โรงเรียนสุจริต)

ผลการประเมิน : 0.00

เผยแพร่เมื่อ : 23 ก.ค. 2563 โดย : นายโกวิทย์ ชัยทัพ จำนวนผู้เข้าชม 40 คน


ชื่อโครงการ/กิจกรรม การเสริมสร้างสุขภาวะในสถานศึกษาในพื้นที่จังหวัดสุรินทร์
ประเภท โรงเรียนเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาลในสถานศึกษา(โรงเรียนสุจริต)
ปีการศึกษา 2560
มาตรฐาน มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน
     1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
     2.5 จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
     3.1 จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงและสามารถนำไปประยุกต็ใช้ในชีวิตได้
     3.3 มีการบริหารจัดการชั้นเรียบเชิงบวก
ผู้รับผิดชอบ
ความเป็นมา
  • หลักการและเหตุผล
               ศูนย์โรงเรียนคุณธรรม มูลนิธิยุวสถิรคุณ ได้อัญเชิญพระราชกระแสรับสั่งของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช   ที่ว่า ช่วยกันสร้างคนดีให้บ้านเมือง มาเป็นวิสัยทัศน์ในแผนดำเนินงาน เพื่อพัฒนาศักยภาพครูให้ตระหนักในบทบาทหน้าที่ การสร้างเสริมคุณธรรมจริยธรรมในโรงเรียน และเป็น ต้นแบบที่ดีงามของนักเรียน พัฒนาคุณธรรมจริยธรรมแบบองค์รวม   เน้นกระบวนการมีส่วนร่วมที่พัฒนากระบวนการคิดเชิงระบบ และใช้โครงงานคุณธรรม  เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ความดีงามจากการลงมือปฏิบัติจริง และมีความรู้สึกเป็นเจ้าของกิจกรรมด้วยความภาคภูมิใจ     ภารกิจที่สำคัญ คือ ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดกิจกรรมต่างๆ ทีเสริมความสัมพันธ์ และการเรียนรู้ระหว่างครูกับนักเรียนในสถานศึกษา เพื่อปลูกฝังอบรมบ่มเพาะคุณธรรมจริยธรรมให้เด็กและเยาวชนเป็นคนดี      มีความซื่อสัตย์สุจริต ขยัน อดทน สามารถพึ่งตนเองได้ เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีความสุขและความเจริญ
             สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)  ได้ให้ความหมายขององค์ประกอบและลักษณะร่วมของ    โรงเรียนสร้างเสริมสุขภาวะ           เพื่อให้เกิดความชัดเจนและเข้าใจตรงกันว่า องค์ประกอบของโรงเรียนสุขภาวะมี ๕ องค์ประกอบคือ   ผู้เรียนเป็นสุข โรงเรียนเป็นสุข สภาพแวดล้อมเป็นสุข ครอบครัวเป็นสุข ชุมชนเป็นสุข วึ่งเป็นแนวทางที่สำคัญของการพัฒนาโรงเรียน เด็กและเยาวชนถือเป็นยุทธศาสตร์การทำงานเชิงรุก   การสร้างเสริมสุขภาพ  จึงควรเริ่มที่โรงเรียนเป็นฐานในการทำงานด้วยการส่งเสริมให้เกิด  โรงเรียนสุขภาวะ      จึงต้องทำงานร่วมกันของคน ๔ กลุ่ม คือ   ผู้ปกครองและชุมชน คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้บริหาร และครู ผนึกกำลังสร้างโรงเรียนแห่งสุขดังนั้นจึงจำเป็นต้องมีการเสริมสร้างศักยภาพและพัฒนาสถานศึกษาให้สามารถบริหารจัดการและจัดกระบวนการเรียนรู้ที่สร้างสุขภาวะแก่ผู้เรียนได้
 
วัตถุประสงค์
  • วัตถุประสงค์
     ๒.๑ เพื่อส่งเสริมให้สถานศึกษามีการสร้างสุขภาวะตามเป้าหมายสุขภาวะด้วยกระบวนการพัฒนาคุณธรรม ตามแนวมูลนิธิยุวสถิรคุณ
     ๒.๒ เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของครอบครัวในการสร้างสุขภาวะในสถานศึกษาด้วยกระบวนการพัฒนาคุณธรรมตามแนวมูลนิธิยุวสถิรคุณ
     ๒.๓ เพื่อให้เกิดชุมชนแห่งการเรียนรู้ ด้านการเสริมสร้างสุขภาวะด้วยกระบวนการพัฒนาคุณธรรมในสถานศึกษา  
 
เป้าหมาย 3.  เป้าหมาย 
          3.1 เป้าหมายเชิงปริมาณ
                - ครูและบุคลากรทางการศึกษา จำนวน  ๒๑ คน
                - เชิงปริมาณ  นักเรียนโรงเรียนสุรินทร์พิทยาคม  จำนวน  1๙๓  คน           
          3.2  เป้าหมายเชิงคุณภาพ
                -  นักเรียนมีคุณธรรมจริยธรรมและค่านิยมอันพึงประสงค์สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้

 
ระยะเวลา 15 มิ.ย. 2561 - 28 ก.พ. 2562
สถานที่ดำเนินการ โรงเรียนสุรินทร์พิทยาคม
ตัวชี้วัด .  การประเมินผล 
ตัวชี้วัดความสำเร็จ ข้อมูล
ปีฐาน
ค่าเป้าหมายตัวชี้วัด วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือที่ใช้ประเมิน
6.1  ผลผลิต  (output)   
       1.  กระบวนการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมทั้งโรงเรียน
       2.  กลไกคณะทำงานและใช้โครงงานเป็นเครื่องมือที่ทุกคนมีส่วนร่วมในการลงมือปฏิบัติเพื่อพัฒนาโรงเรียนคุณธรรม
       3.  พฤติกรรมที่พึงประสงค์ในโรงเรียนเพิ่มขึ้น
      4.  พฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ลดลง
      ๕. เกิดกระบวนการที่ส่วนร่วมในการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมในโรงเรียนจากทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง
      ๖. มีองค์ความรู้ นวัตกรรมการสร้างเสริมคุณธรรม และมีการบูรณาการกับการจัดการเรียนการสอน
       ๗. เป็นแหล่งเรียนรู้โรงเรียนคุณธรรม
 
99

100

 
๙๙
 
๙๙
๙๙


๑๐๐


๙๙

 

1. ประเมินความพึงพอใจหลังร่วมกิจกรรม
2. สังเกตพฤติกรรมผู้เรียน


๑..บันทึก/สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์
๑.. แบบสังเกต/สัมภาษณ์

1. สังเกต/บันทึกการเข้าร่วมกิจกรรม
การจัดกิจกรรม

1.แบบประเมินความพึงพอใจหลังร่วมกิจกรรม
2. แบบสังเกตพฤติกรรมผู้เรียน


๑..แบบบันทึก


1. แบบประเมินคุณลักษณะที่พึงประสงค์
2. แบบสังเกต/บันทึกการเข้าร่วม
 
การจัดกิจกรรม
ผลที่คาดว่าจะได้รับ ๙.  ผลที่คาดว่าจะได้รับ
                 9.1  ผู้เรียนทุกคนมีสุขภาพกายแข็งแรง ร่าเริงแจ่มใส
                 9.2  โรงเรียนมีการบริหารจัดการที่เอื้อต่อการสร้างเสริมสุขภาวะของผู้เรียน
                 9.3  โรงเรียนเป็นเขตปลอดเหล้า บุหรี การพนัน และสิ่งเสพติด
                 9.4  ครอบครัวและโรงเรียนมีการแลกเปลี่ยนข้อมูลทางด้านสุขภาวะเพื่อร่วมพัฒนาสุขภาวะของผู้เรียน
                9.4 ชุมชนและโรงเรียนมีความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน
 
สรุปคะแนนประเมิน 0.00
ไฟล์ประกอบ โครงการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม-ตามแนวทางยุวสถิรคุณ.docx
ขั้นเตรียมการ
กิจกรรม ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ
ขั้นวางแผน (PLAN:P)
  1. จัดทำและเสนอโครงการต่อผู้บริหาร

มิถุนายน ๒๕๖๐

ครูแกนนำ
  2. แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน มิถุนายน ๒๕๖๐ ผู้อำนวยการโรงเรียน
  3. ประชุมคณะกรรมการดำเนินงาน มิถุนายน ๒๕๖๐ ผู้อำนวยการโรงเรียน
ขั้นดำเนินการตามแผน (DO:D) มิถุนายน ๒๕๖๐ – พฤศจิกายน ๒๕๖๐ นายวิละ   สมเจริญและคณะ
ขั้นดำเนินการ
  4. กิจกรรม
     4.1 ส่งครูแกนนำเข้าอบรมตามโครงการสร้างเสริมสุขภาวะ สร้างความรู้ความเข้าใจ
     4.2 ประชุมครูครูแกนนำขยายผลในสถานศึกษา         
     4.3 ส่งนักเรียนแกนนำเข้าอบรมโครงการสร้างเสริมสุขภาวะ
     ๔.๔ นักเรียนแกนนำขยายผลในสถานศึกษา
    ๔.๕ ครูแกนนำ นักเรียนแกนนำศึกษาดูงานโรงเรียนแตลศิริวิทยา
   ๔.๖ จัดทำโครงงานคุณธรรม ๓ โครงงาน ดังนี้
     ๑. โครงงานระเบียบวินัย
     ๒..โครงงานโรงเรียนปลอดขยะ
  • โครงงานส้วมสุขสันต์
๕. การนิเทศติดตามภายในสถานศึกษาในโครงงานคุณธรรม
๖. การนิเทศติดตามในสถานศึกษาในโครงงานคุณธรรมกิจกรรม                                              

พฤษภาคม ๒๕๖๐ - กรกฏาคม ๒๕๖๐
พฤษภาคม ๒๕๖๐ – กรกฏาคม ๒๕๖๐
สิงหาคม ๒๕๖๐ – กันยายน ๒๕๖๐

สิงหาคม ๒๕๖๐

มิถุนายน ๒๕๖๐ – ตุลาคม ๒๕๖๐

สิงหาคม ๒๕๖๐ – พฤศจิกายน ๒๕๖๐

กันยายน ๒๕๖๐ – พฤศจิกายน ๒๕๖๐

 ผู้อำนวยการโรงเรียน
ครูแกนนำ
ผู้อำนวยการโรงเรียน
 
ครูแกนนำ และนักเรียนแกนนำ
นางปาลี พงษ์ศักดิ์ดีและคณะ
 ครูแกนนำ

นางสุกัญญา ทองกลาง และสภานักเรียน
นางปาลี พาษ์ศักดิ์ดี และคณะ นักเรียนแกนนำ
นางพีรเดช เลิศงาม และคณะ นักเรียนแกนนำ
ผู้อำนวยการโรงเรียน และครูแกนนำ
นิเทศอาสา
ผู้รับผิดชอบ
ขั้นตรวจสอบประเมินผล
กิจกรรม ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ
ขั้นติดตามประเมินผล
   ๗. ตรวจสอบ
     ๗.๑ กำกับ ติดตามประเมินผล
      ๗.๒ ประชุมคณะกรรมการการสรุปผล
      ๗.๓ สรุปผลและรายงานผล

ตลอดปีการศึกษา เสร็จสิ้นกิจกรรม

คณะกรรมการนิเทศอาสาและครูแกนนำ
ขั้นสรุปและรายงาน จัดทำเล่มรายงานสรุปผลการดำเนินงาน
งบประมาณ ได้งบประมาณสนับสนุนจากมูลนิธิยุวสถิรคุณ จังหวัดสุรินทร์ จำนวนเงิน 5,000 บาท
การบรรลุตัวชี้วัด .  การประเมินผล 
ตัวชี้วัดความสำเร็จ ข้อมูล
ปีฐาน
ค่าเป้าหมายตัวชี้วัด วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือที่ใช้ประเมิน
6.1  ผลผลิต  (output)   
       1.  กระบวนการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมทั้งโรงเรียน
       2.  กลไกคณะทำงานและใช้โครงงานเป็นเครื่องมือที่ทุกคนมีส่วนร่วมในการลงมือปฏิบัติเพื่อพัฒนาโรงเรียนคุณธรรม
       3.  พฤติกรรมที่พึงประสงค์ในโรงเรียนเพิ่มขึ้น
      4.  พฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ลดลง
      ๕. เกิดกระบวนการที่ส่วนร่วมในการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมในโรงเรียนจากทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง
      ๖. มีองค์ความรู้ นวัตกรรมการสร้างเสริมคุณธรรม และมีการบูรณาการกับการจัดการเรียนการสอน
       ๗. เป็นแหล่งเรียนรู้โรงเรียนคุณธรรม
 
99

100

 
๙๙
 
๙๙
๙๙


๑๐๐


๙๙

 

1. ประเมินความพึงพอใจหลังร่วมกิจกรรม
2. สังเกตพฤติกรรมผู้เรียน


๑..บันทึก/สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์
๑.. แบบสังเกต/สัมภาษณ์

1. สังเกต/บันทึกการเข้าร่วมกิจกรรม
การจัดกิจกรรม

1.แบบประเมินความพึงพอใจหลังร่วมกิจกรรม
2. แบบสังเกตพฤติกรรมผู้เรียน


๑..แบบบันทึก


1. แบบประเมินคุณลักษณะที่พึงประสงค์
2. แบบสังเกต/บันทึกการเข้าร่วม
 
การจัดกิจกรรม
ความพึงพอใจ ยังอยู่ในช่วงของการดำเนินงาน
ปัญหาและอุปสรรค งบประมาณ
ความเข้าใจกรอบงานของครูแต่ละคนในโรงเรียนอย่างชัดเจนแท้จริง
 
ข้อเสนอแนะ งบประมาณในการสนับสนุน
รูปภาพประกอบ

ออกแบบและพัฒนาโดย สารสนเทศสำนักบริหารการมัธยมศึกษา SESA 2.0