ชื่อโครงการ/กิจกรรม |
โครงการขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้สู่กิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ |
ประเภท |
โรงเรียนนำร่องโครงการตามนโยบายลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ |
ปีการศึกษา |
2561 |
มาตรฐาน |
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน
1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน 1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน
2.5 จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ
3.1 จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงและสามารถนำไปประยุกต็ใช้ในชีวิตได้ |
ผู้รับผิดชอบ |
|
ความเป็นมา |
นโยบายของรัฐบาลในการสนับสนุนแนวทางการปฏิรูปการศึกษาอย่างเป็นรูปธรรม นโยบายหนึ่ง คือ
การปรับลดเวลาเรียนของเด็กให้น้อยลง เป็นการลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ โดยให้สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา
ขั้นพื้นฐานพิจารณา ปรับลดชั่วโมงเรียนของบางวิชาให้น้อยลงแต่ต้องไม่กระทบเนื้อหาหลักที่เด็กควรเรียนรู้ ครู
ต้องใช้ความสามารถในการอธิบายและบูรณาการให้ครบถ้วนอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น และกำหนดให้สถานศึกษา
ต้องจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ให้อย่างหลากหลายเพื่อเพิ่มพูนทักษะการคิดวิเคราะห์ ความมีน้ำใจต่อการ การทำงาน
เป็นทีม กระตุ้นให้ผู้เรียนได้ค้นหาศักยภาพและความชอบของตนเอง โดยกำหนดนโยบายลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้
โดยจะไม่เปลี่ยนโครงสร้างหลักสูตร แต่ปรับเนื้อหาวิชาให้กระชับและเหมาะสมกับเวลาที่ลดลง จากนั้นอีกชั่วโมงครึ่ง
ก่อนเลิกเรียนจะเป็นกิจกรรมเรียนรู้ที่มุ่งเน้นพัฒนาทักษะชีวิตและอาชีพ เสริมสมรรถนะร่างกาย สร้างค่านิยม
ความเป็นไทย โดยคาดหวังให้เด็กไทยยุคใหม่นี้มีทักษะชีวิตเผชิญปัญหาได้ทุกสถานการณ์
กรอบการจัดกิจกรรมเพิ่มเวลารู้ 4 องค์ คือ พุทธิศึกษา จริยศึกษา หัตถศึกษา และพลศึกษา หรือการพัฒนา
ตามแนว 4H : Head หมายถึง การพัฒนานักเรียนให้มีความสมบูรณ์ มีพัฒนาสมรรถนะการเรียนด้านสมอง อาทิ ความสามารถด้านการสื่อสาร ความสามารถด้านการคิด ความสามารถด้านการใช้เทคโนโลยี การพัฒนาทักษะการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระ, Heart หมายถึง การปลูกฝังค่านิยมและจิตสำนึก การปลูกฝังความรักชาติ การปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม, Hand หมายถึง การฝึกทำงาน ทักษะทางอาชีพทรัพย์สินทางปัญญา อยู่อย่างพอเพียง และมีวินัยทางการเงิน และ Health หมายถึง การเสริมสร้างสมรรถนะทางกาย การเรียนรู้ด้านการเสริมสร้างทักษะการทำงาน การดำรงชีวิต และทักษะชีวิต และการพัฒนากระบวนการคิดของผู้เรียน
โรงเรียน ประชาพัฒนา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 จึงจัดทำโครงการ
พัฒนาครูในการจัดการเรียนรู้สู่กิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ เพื่อจัดทำหน่วยการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับบริบทของ
โรงเรียนเพื่อเป็นแนวทางให้ครูสามารถจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนในกิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ที่สอดคล้องกับ
การพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21 อย่างมีคุณภาพ
|
วัตถุประสงค์ |
2.1 เพื่อทบทวนและพัฒนาการจัดการกิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ด้วย Active Learning
2.2 เพื่อพัฒนาการออกแบบหน่วยการจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษารองรับการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
2.3 เพื่อติดตาม นิเทศ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ AAR (After Action Review) สรุป และรายงานผลการดำเนินงาน |
เป้าหมาย |
เชิงปริมาณ
3.1.1 โรงเรียนจัดประชุมปฏิบัติการสร้างหน่วยการเรียนรู้กิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้แบบบูรณาการ 4 H ทั้งโรงเรียนสำหรับครูและนักเรียนแกนนำ ด้วย ACTIVE LEARNING และ PLC โรงเรียนละ 1 ครั้ง 25 คน โดยเขตพื้นที่สนับสนุนงบประมาณ โรงเรียนละ 3,500 บาท
3.1.2 ติดตาม นิเทศ ถอดบทเรียนผลการดำเนินงาน AAR ระดับโรงเรียนเพื่อหาวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ
|
ระยะเวลา |
13 ก.ย. 2561 - 13 ก.ย. 2561 |
สถานที่ดำเนินการ |
สถานที่ดำเนินการห้องโสตทัศนศึกษา โรงเรียนประชาพัฒนา |
ตัวชี้วัด |
ตัวชี้วัด |
ค่าเป้าหมาย |
เชิงปริมาณ
1. โรงเรียนกลุ่มเป้าหมายจัดกิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ ระยะที่ 3
2. ครูมีความรู้ความเข้าใจและมีแนวทางการพัฒนาการจัดกิจกรรมออกแบบ Active
Learning และกิจกรรมเพิ่มเวลารู้ ระยะที่ 2 V.3
3. โรงเรียนมีกิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ที่เป็น Best Practice เผยแพร่ |
ร้อยละ 100
ร้อยละ 90
25 คน |
เชิงคุณภาพ
1. ครูจัดกิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ ระยะที่ 2 อย่างมีคุณภาพ
2. นักเรียนได้เรียนรู้ตามกิจกรรม ACTIVE LEARNING/STEM/เพิ่มเวลารู้
และได้รับการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21
3. นักเรียนได้เรียนรู้อย่างมีความหมาย สนุก และมีความสุขในการเรียนรู้ |
ระดับดีขึ้นไป
ระดับดีขึ้นไป
ระดับดีขึ้นไป |
|
ผลที่คาดว่าจะได้รับ |
9.1 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาและโรงเรียนในสังกัด ได้แนวทางการปรับหลักสูตร และการบริหาร
จัดการกิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ V.3
9.2 ครูได้แนวทาง สื่อ การจัดกิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ V.3
9.3 ครูและโรงเรียนสร้างเครือข่ายการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และกิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ V.3
9.4 นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ได้เรียนรู้ผ่านกิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้อย่างมีคุณภาพ
|
สรุปคะแนนประเมิน |
0.00 |
ไฟล์ประกอบ |
|
ขั้นเตรียมการ |
|
ขั้นดำเนินการ |
ตารางการประชุมปฏิบัติการการขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้สู่กิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้
โรงเรียน ประชาพัฒนา ปีงบประมาณ 2561 (แลกเป้า)
ณ ห้องโสตทัศนศึกษา โรงเรียน ประชาพัฒนา
วันที่ 7 เดือน กันยายน พ.ศ. 2561
เวลา |
กิจกรรม |
08.30-09.00 น. |
รายงานตัว รับเอกสาร เตรียมสื่อลงข้อมูลเครื่องคอมพิวเตอร์ |
09.00-09.30 น. |
พิธีเปิด |
09.30-10.45 น. |
ถอดประสบการณ์การดำเนินงานลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ (AAR) |
10.45-12.00 น. |
ทบทวนและเติมเต็มความรู้การจัดกิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ V.1, 2, 3 |
12.00-13.00 น. |
พักรักประทานอาหารกลางวัน |
13.00-15.00 น. |
ปฏิบัติการจัดทำหน่วยการเรียนรู้กิจกรรมลดเวลาเรียน-เพิ่มเวลารู้ |
15.00-16.00 น. |
นำเสนอและร่วมวิพากษ์ผลงาน |
16.30-16.30 น. |
พิธีปิด |
หมายเหตุ ตารางนี้อาจปรับได้ตามความเหมาะสม
|
ขั้นตรวจสอบประเมินผล |
|
ขั้นสรุปและรายงาน |
แบบรายงานผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม
โรงเรียน ประชาพัฒนา
1. ชื่อโครงการ การขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้สู่กิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้โรงเรียนประชาพัฒนา
2. ผู้รับผิดชอบโครงการ นางณัฐวดี อุปนันท์
3. วันที่จัด 7 กันยายน 2561
4. สถานที่จัด ห้องโสตทัศนศึกษาโรงเรียนประชาพัฒนา
5. วัตถุประสงค์
5.1 เพื่อทบทวนและพัฒนาการจัดการกิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ด้วย Active Learning
5.2 เพื่อพัฒนาการออกแบบหน่วยการจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษารองรับการเรียนรู้ใน
ศตวรรษที่ 21
5.3 เพื่อติดตาม นิเทศ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ AAR (After Action Review) สรุป และรายงานผล
การดำเนินงาน
6. ผู้เข้าร่วมกิจกรรม ทั้งสิ้น 25 คน ประกอบด้วย
6.1 ครูแกนนำและครูผู้รับผิดชอบกิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ จำนวน 25 คน
7. งบประมาณ
งบประมาณที่ได้รับการสนับสนุนจากเขตพื้นที่การศึกษา(บาท) |
ใช้จ่ายจริง(บาท) |
คงเหลือ/เกินงบ(บาท) |
3,500 |
3,500
เป็นค่าอาหารกลางวันและอาหารว่างสำหรับผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 25 คน |
- |
8. ผลการดำเนินงาน
ตัวชี้วัด |
ค่าเป้าหมาย |
ผลที่เกิดขึ้น |
เชิงปริมาณ
1. มีหน่วยการจัดกิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้
ระยะที่ 3
2. ครูมีความรู้ความเข้าใจและมีแนวทางการ
พัฒนาการจัดกิจกรรมออกแบบ Active
Learning ในกิจกรรมเพิ่มเวลารู้ ระยะที่ 2 V.3
3. ครูได้รับการนิเทศภายใน 2 ครั้ง/ภาคเรียน
4. โรงเรียนคัดเลือกกิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลา
รู้ที่เป็น Best Practice เผยแพร่ |
25 กิจกรรม/ภาค
25 คน
25 คน
25 กิจกรรม/ภาค
|
25 กิจกรรม/ภาค
25 คน
25 คน
25 กิจกรรม/ภาค |
ตัวชี้วัด |
ค่าเป้าหมาย |
ผลที่เกิดขึ้น |
เชิงคุณภาพ
1. ครูจัดกิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ ระยะที่ 2
อย่างมีคุณภาพ
2. นักเรียนได้เรียนรู้ตามกิจกรรม ACTIVE
LEARNING/STEM/เพิ่มเวลารู้และได้รับการ
พัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21
3. นักเรียนได้เรียนรู้อย่างมีความหมาย สนุก และ
มีความสุขในการเรียนรู้ |
ระดับดีขึ้นไป
ระดับดีขึ้นไป
ระดับดีขึ้นไป |
ระดับ ดี
ระดับ ดี
ระดับ ดี |
þ บรรลุตามเป้าหมาย o ไม่บรรลุตามเป้าหมาย
9. ปัญหา/อุปสรรค
9.1 ระยะเวลากระชั้นชิดเกินไป
9.2 ผู้เข้าอบรมไม่ให้ความร่วมมือในการเข้าอบรม
10. ข้อเสนอแนะ
10.1 สร้างความร่วมมือโดยการให้ผู้เข้าฝึกอบรมเข้าใจถึงผลประโยชน์ของการฝึกอบรมว่า เป็นการพัฒนาตัวเอง
|
งบประมาณ |
งบประมาณ
งบประมาณที่ได้รับจัดสรร จำนวน 3,500 บาท (แจ้งจัดสรรงบแลกเป้าจาก สวก.สพฐ.)
(ตามตารางรายละเอียดค่าใช้จ่ายของโครงการ ปีงบประมาณ พ.ศ.2561) ดังนี้
กิจกรรม |
งบประมาณ (บาท) |
กิจกรรมที่ 1 โรงเรียนจัดประชุมปฏิบัติการสร้างชุดกิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้
แบบบูรณาการ 4 H ทั้งโรงเรียนสำหรับครูและนักเรียนแกนนำ
-ค่าอาหาร-เบรก (25*140*1) |
3,500 บาท
(ถัวจ่ายทุกรายการ) |
กิจกรรมที่ 4 ติดตาม นิเทศ และประชุมถอดบทเรียน AAR ระดับโรงเรียน
(จำนวน 25 คน 1 วัน)
|
- บาท
(ถัวจ่ายทุกรายการ)
บูรณาการการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ |
รวม |
3,500 |
|
การบรรลุตัวชี้วัด |
8. ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย
ตัวชี้วัด |
ค่าเป้าหมาย |
เชิงปริมาณ
1. โรงเรียนกลุ่มเป้าหมายจัดกิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ ระยะที่ 3
2. ครูมีความรู้ความเข้าใจและมีแนวทางการพัฒนาการจัดกิจกรรมออกแบบ Active
Learning และกิจกรรมเพิ่มเวลารู้ ระยะที่ 2 V.3
3. โรงเรียนมีกิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ที่เป็น Best Practice เผยแพร่ |
ร้อยละ 100
ร้อยละ 90
25 คน |
เชิงคุณภาพ
1. ครูจัดกิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ ระยะที่ 2 อย่างมีคุณภาพ
2. นักเรียนได้เรียนรู้ตามกิจกรรม ACTIVE LEARNING/STEM/เพิ่มเวลารู้
และได้รับการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21
3. นักเรียนได้เรียนรู้อย่างมีความหมาย สนุก และมีความสุขในการเรียนรู้ |
ระดับดีขึ้นไป
ระดับดีขึ้นไป
ระดับดีขึ้นไป |
|
ความพึงพอใจ |
|
ปัญหาและอุปสรรค |
|
ข้อเสนอแนะ |
|
รูปภาพประกอบ |
|