Loading...

ข้อมูลโครงการพิเศษ

  PDF

โครงการเศรษฐกิจพอเพียงหล่อเลี้ยงชีวิต

โรงเรียน : กุมภวาปีพิทยาสรรค์ สพม.อุดรธานี

ประเภท : โรงเรียนที่จัดกิจกรรมการเรียนรู้ฯ ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

ผลการประเมิน : 0.00

เผยแพร่เมื่อ : 25 ก.ย. 2561 โดย : นางสาวชลยารัตน์  เมิงไชยสงค์ จำนวนผู้เข้าชม 137 คน


ชื่อโครงการ/กิจกรรม โครงการเศรษฐกิจพอเพียงหล่อเลี้ยงชีวิต
ประเภท โรงเรียนที่จัดกิจกรรมการเรียนรู้ฯ ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปีการศึกษา 2560
มาตรฐาน
     1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน


     3.1 จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงและสามารถนำไปประยุกต็ใช้ในชีวิตได้
     3.5 มีการแลกเปลียนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้
ผู้รับผิดชอบ
ความเป็นมา                พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมหาราช ทรงมีพระราชดำรัสแก่พสกนิกรชาวไทยเกี่ยวกับการดำเนินชีวิตโดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งเป็นปรัชญาที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของทางสายกลางและความไม่ประมาท โดยคำนึงการรู้จักพึ่งตนเอง ความพอประมาณ พอมีพอกิน พอมีพอใช้ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว ตลอดจนใช้ความรู้ความรอบคอบและคุณธรรมประกอบการวางแผนตัดสินใจและกระทำในสิ่งที่ควรจะเป็น เพื่อให้สามารถดำรงชีวิตอย่างยั่งยืนภายใต้กระแสโลกาภิวัฒน์และความเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ การวางรากฐานการดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องปลูกฝังให้เกิดขึ้นกับทุกคนในสังคมไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่งเด็กเยาวชนที่จะเป็นอนาคตของชาติ ซึ่งสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานได้กำหนดกลยุทธ์การปลูกฝังคุณธรรม ความสำนึกในความเป็นชาติไทย และวิถีชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รวมทั้งนโยบายในการปฏิรูปการศึกษารอบที่ 2 (พ.ศ.2552 – 2561) ซึ่งมุ่งเน้นการจัดกระบวนการเรียนการสอนและการบริหารจัดการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และเพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจสามารถปฏิบัติตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงได้อย่างถูกต้อง เป็นผู้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ให้กับนักเรียน ครู/บุคลากรทางการศึกษา ผู้ปกครอง ชุมชน และหน่วยงานอื่น จากหลักการดังกล่าว ทางโรงเรียนจึงได้จัดทำ “โครงการเศรษฐกิจพอเพียงหล่อเลี้ยงชีวิต” ขึ้น
 
วัตถุประสงค์
เป้าหมาย 1.  เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงได้อย่างถูกต้อง
2.  เพื่อให้นักเรียนสามารถปฏิบัติตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงได้อย่างถูกต้อง
3.  เพื่อให้นักเรียนเป็นผู้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
4.  เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงให้กับนักเรียน ครู/บุคลากรทางการศึกษา ผู้ปกครอง ชุมชน และหน่วยงานอื่น
 
 
ระยะเวลา 16 พ.ค. 2559 - 10 มี.ค. 2560
สถานที่ดำเนินการ โรงเรียนกุมภวาปีพิทยาสรรค์
ตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดความสำเร็จ วิธีการประเมิน เครื่องมือ
1.ร้อยละของนักเรียน มีความรู้ ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงได้อย่างถูกต้อง การทดสอบ  แบบทดสอบ 
2.ร้อยละของนักเรียน สามารถปฏิบัติตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงได้อย่างถูกต้อง การประเมิน   แบบประเมิน 
3. ร้อยละของนักเรียน มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ “อยู่อย่างพอเพียง” ในระดับดีขึ้นไป  การประเมิน  แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ “อยู่อย่างพอเพียง” 
4. ร้อยละของนักเรียน ครู/บุคลากรทางการศึกษา ผู้ปกครอง  ใช้ศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โรงเรียนกุมภวาปีพิทยาสรรค์ -การบันทึกการใช้แหล่งเรียนรู้
-ความพึงพอใจในการใช้แหล่งเรียนรู้
-แบบบันทึกการใช้แหล่งเรียนรู้
-แบบสอบถามความพึงพอใจ
ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1.  นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงได้อย่างถูกต้อง
2.  นักเรียนเป็นผู้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ “อยู่อย่างพอเพียง” ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
3. นักเรียน ครู/บุคลากรทางการศึกษา ผู้ปกครอง และหน่วยงานอื่น ใช้ศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โรงเรียนกุมภวาปีพิทยาสรรค์


 
สรุปคะแนนประเมิน 0.00
ไฟล์ประกอบ โครงการเศรษฐกิจพอเพียงหล่อเลี้ยงชีวิต.docx
ขั้นเตรียมการ 1. ขออนุมัติโครงการ
ขั้นดำเนินการ
กิจกรรมสำคัญ ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ
1. ขออนุมัติโครงการ พฤษภาคม นางสุปราณี  ถนอมเทวศิริกุล
2. ประชุมคณะครูวางแผนการปฏิบัติงานและแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน พฤษภาคม คณะกรรมการ
3. ประชุมนักเรียนเพื่อแจ้งวัตถุประสงค์ พฤษภาคม คณะกรรมการ/นักเรียน
4. กิจกรรมที่จัด    
 4.1.  กิจกรรมการออมทรัพย์ ตลอดปีการศึกษา นางสุปราณี  ถนอมเทวศิริกุล
 4.2  กิจกรรมทำบัญชีครัวเรือน ตลอดปีการศึกษา นางสาวอภิญญา  แน่นอุดร
 4.3  กิจกรรมหนึ่งคนหนึ่งอาชีพ ตลอดปีการศึกษา นายสายทอง  สะอาด
 4.4  กิจกรรมธุรกิจพอเพียง ตลอดปีการศึกษา นางสาวอภิญญา  แน่นอุดร
 4.5  กิจกรรมเกษตรกรน้อย ตลอดปีการศึกษา นางสาวสาวิตรี  ดีสินธุ์
5. ประเมินโครงการ ตุลาคม, มีนาคม นางสุปราณี  ถนอมเทวศิริกุล
6. การสรุป/รายงาน ตุลาคม, มีนาคม นางสุปราณี  ถนอมเทวศิริกุล
ขั้นตรวจสอบประเมินผล
ตัวชี้วัดความสำเร็จ วิธีการประเมิน เครื่องมือ
1.ร้อยละของนักเรียน มีความรู้ ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงได้อย่างถูกต้อง การทดสอบ  แบบทดสอบ 
2.ร้อยละของนักเรียน สามารถปฏิบัติตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงได้อย่างถูกต้อง การประเมิน   แบบประเมิน 
3. ร้อยละของนักเรียน มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ “อยู่อย่างพอเพียง” ในระดับดีขึ้นไป  การประเมิน  แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ “อยู่อย่างพอเพียง” 
4. ร้อยละของนักเรียน ครู/บุคลากรทางการศึกษา ผู้ปกครอง  ใช้ศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โรงเรียนกุมภวาปีพิทยาสรรค์ -การบันทึกการใช้แหล่งเรียนรู้
-ความพึงพอใจในการใช้แหล่งเรียนรู้
-แบบบันทึกการใช้แหล่งเรียนรู้
-แบบสอบถามความพึงพอใจ
ขั้นสรุปและรายงาน
ตัวชี้วัดความสำเร็จ วิธีการประเมิน เครื่องมือ
1.ร้อยละของนักเรียน มีความรู้ ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงได้อย่างถูกต้อง การทดสอบ  แบบทดสอบ 
2.ร้อยละของนักเรียน สามารถปฏิบัติตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงได้อย่างถูกต้อง การประเมิน   แบบประเมิน 
3. ร้อยละของนักเรียน มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ “อยู่อย่างพอเพียง” ในระดับดีขึ้นไป  การประเมิน  แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ “อยู่อย่างพอเพียง” 
4. ร้อยละของนักเรียน ครู/บุคลากรทางการศึกษา ผู้ปกครอง  ใช้ศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โรงเรียนกุมภวาปีพิทยาสรรค์ -การบันทึกการใช้แหล่งเรียนรู้
-ความพึงพอใจในการใช้แหล่งเรียนรู้
-แบบบันทึกการใช้แหล่งเรียนรู้
-แบบสอบถามความพึงพอใจ
งบประมาณ งบประมาณ 1,500 บาท
การบรรลุตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดความสำเร็จ วิธีการประเมิน เครื่องมือ
1.ร้อยละของนักเรียน มีความรู้ ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงได้อย่างถูกต้อง การทดสอบ  แบบทดสอบ 
2.ร้อยละของนักเรียน สามารถปฏิบัติตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงได้อย่างถูกต้อง การประเมิน   แบบประเมิน 
3. ร้อยละของนักเรียน มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ “อยู่อย่างพอเพียง” ในระดับดีขึ้นไป  การประเมิน  แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ “อยู่อย่างพอเพียง” 
4. ร้อยละของนักเรียน ครู/บุคลากรทางการศึกษา ผู้ปกครอง  ใช้ศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โรงเรียนกุมภวาปีพิทยาสรรค์ -การบันทึกการใช้แหล่งเรียนรู้
-ความพึงพอใจในการใช้แหล่งเรียนรู้
-แบบบันทึกการใช้แหล่งเรียนรู้
-แบบสอบถามความพึงพอใจ
ความพึงพอใจ 1  นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงได้อย่างถูกต้อง ร้อยละ 90
2  นักเรียนเป็นผู้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ “อยู่อย่างพอเพียง” ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง  ร้อยละ 90
3  นักเรียน ครู/บุคลากรทางการศึกษา ผู้ปกครอง และหน่วยงานอื่น ใช้ศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โรงเรียนกุมภวาปีพิทยาสรรค์ ร้อยละ 90
 
ปัญหาและอุปสรรค ขาดงบประมาณและวิทยากรที่มีความรู้ชำนาญในด้านอาชีพมาให้ความรู้กับนักเรียน
ข้อเสนอแนะ -
รูปภาพประกอบ