ชื่อโครงการ/กิจกรรม |
ห้องเรียนพิเศษนักเรียนความสามารถด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ |
ประเภท |
โรงเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ (Enrichment Science Classroom : ESC) |
ปีการศึกษา |
2560 |
มาตรฐาน |
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน
1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน 1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน
|
ผู้รับผิดชอบ |
|
ความเป็นมา |
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ร่วมกับสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) กระทรวงศึกษาธิการ ในการจัดทำโครงการห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ตั้งแต่ปีการศึกษา 2550 เป็นต้นมา โดยสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ได้จัดทำหลักสูตรห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ พร้อมทั้งอบรมครูขยายผล ส่งเสริมกิจกรรมพัฒนาทางวิชาการอย่างต่อเนื่องและได้ผลเป็นที่พอใจในระดับดี ประกอบกับ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ได้มีนโยบายในการพัฒนาสถานศึกษาให้เป็นมาตรฐานสากล
ตามที่โรงเรียนนนทรีวิทยาเปิดทำการสอนหลักสูตรห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ โดยจัดการเรียนรู้ให้กับนักเรียนโดยใช้หลักสูตรส่งเสริมความสามารถด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ตามหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนนนทรีวิทยา พุทธศักราช 2552 (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2558) สอดคล้องตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ที่เพิ่มพูนและขยายประสบการณ์นักเรียนด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและมัธยมศึกษาตอนปลาย ดังนั้นเพื่อเป็นการส่งเสริมศักยภาพของนักเรียนด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ เพื่อผลิตนักเรียนที่มีความเป็นเลิศทางวิชาการด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ด้วยการจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรต่างๆ ได้แก่ การเตรียมความพร้อมสอบเข้าอุดมศึกษา การสอนเสริมในวันเสาร์ การจัดค่ายพัฒนาอัจฉริยะภาพด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ การจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และความสามัคคีของนักเรียน ตลอดจนการสนับสนุนการจัดการศึกษาของโรงเรียนนนทรีวิทยา |
วัตถุประสงค์ |
1. เพื่อส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ให้นักเรียน
2. เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริงและเกิดการใฝ่รู้อย่างต่อเนื่องโดยผสมผสานสาระความรู้ ด้านต่าง ๆ |
เป้าหมาย |
เป้าหมาย
เป้าหมายเชิงปริมาณ
1 นักเรียนในโครงการส่งเสริมความสามารถด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ โรงเรียนนนทรีวิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 จำนวนประมาณ 110 คน เข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ใน 1 ปีการศึกษา ดังนี้ กิจกรรมสอนเสริมวันเสาร์ ทัศนศึกษา 2 ครั้งเข้าค่ายพักแรม 2 ครั้ง และกิจกรรมเสริมหลักสูตรอื่นๆอีก 1 ครั้ง
2 นักเรียนในโครงการส่งเสริมความสามารถด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ จำนวน 110 คน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์และวิชาคณิตศาสตร์อยู่ในระดับ 3 ขึ้นไป ร้อยละ 100
เป้าหมายเชิงคุณภาพ
1 นักเรียนในโครงการส่งเสริมความสามารถด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ โรงเรียน
นนทรีวิทยา ได้พัฒนาศักยภาพด้วยการเสริมเติมเต็มความรู้ในวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ และได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริงจากแหล่งเรียนรู้ภายนอกเกิดการใฝ่รู้อย่างต่อเนื่องโดยผสมผสานสาระความรู้ด้านต่างๆ
2 นักเรียนได้เรียนวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์จากสื่ออิเลคทรอนิกส์โดยใช้สื่อ
โสตทัศนูปกรณ์ที่ทันสมัย |
ระยะเวลา |
1 เม.ย. 2560 - 31 มี.ค. 2561 |
สถานที่ดำเนินการ |
โรงเรียนนนทรีวิทยา |
ตัวชี้วัด |
ตัวชี้วัดความสำเร็จ
ตัวชี้วัดความสำเร็จ |
วิธีการประเมินผล |
เครื่องมือที่ใช้ |
1.กิจกรรมสอนเสริมวันเสาร์ เข้าค่ายพักแรม 2 ครั้ง |
- แบบรายงานการเข้าร่วมกิจกรรม |
- แบบบันทึกการเข้าร่วมกิจกรรม |
2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์และวิชาคณิตศาสตร์อยู่ในระดับ 3 ขึ้นไป ร้อยละ 100 |
- ผลการเรียน |
- แบบทดสอบ |
|
ผลที่คาดว่าจะได้รับ |
1. นักเรียนในโครงการส่งเสริมความสามารถด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์และวิชาคณิตศาสตร์สูงขึ้น
2. นักเรียนมีศักยภาพด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์สูงขึ้น มีความรู้ ความสามารถนำไปสร้างสรรค์
ชิ้นงานต่างๆ เพื่อประกวดแข่งขันในกิจกรรมต่างๆ ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน |
สรุปคะแนนประเมิน |
4.00 |
ไฟล์ประกอบ |
|
ขั้นเตรียมการ |
ขั้นวางแผน
1. ศึกษาและรวบรวมข้อมูลแหล่งวิทยาการต่างๆ
2. วางแผนการจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรต่างๆ
3. นำเสนอแผนงานโครงการเพื่อขออนุมัติ |
ขั้นดำเนินการ |
ขั้นดำเนินการ
1. แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน/ผู้ประสานงานแต่ละกิจกรรม
2. กำหนดปฏิทินการปฏิบัติงาน
3. ดำเนินการจัดกิจกรรม ตามวัน เวลา และสถานที่ที่กำหนด
4. จัดกิจกรรม ได้แก่ กิจกรรมสอนเสริมวันเสาร์ กิจกรรมทัศนศึกษา
2 ครั้ง เข้าค่ายพักแรม 1 ครั้ง และกิจกรรมเสริมหลักสูตรอื่นๆ อีก 1 ครั้ง |
ขั้นตรวจสอบประเมินผล |
ขั้นติดตามประเมินผล
1. นิเทศ กำกับ ติดตาม การปฏิบัติภาระงานในหน้าที่ที่รับผิดชอบ
2. สรุปรายงานผลการจัดดำเนินกิจกรรมตามโครงการ |
3. สรุปผลการประเมินโครงการ |
ขั้นสรุปและรายงาน |
สรุปผลการดำเนินงานตามโครงการ
เป้าหมาย |
ผลการประเมิน |
การบรรลุเป้าหมาย |
บรรลุ |
ไม่บรรลุ |
เชิงปริมาณ |
1. จำนวนนักเรียนที่ได้ผลการเรียนระดับ 2 ขึ้นไปเพิ่มขึ้นอย่างน้อยร้อยละ 3 |
/ |
|
|
2.นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์และวิชาคณิตศาสตร์อยู่ในระดับ 3 ขึ้นไป ร้อยละ 100 |
|
/ |
เชิงคุณภาพ |
1. นักเรียนได้พัฒนาศักยภาพด้วยการเสริมเติมเต็มความรู้ในวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ และได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริงจากแหล่งเรียนรู้ภายนอก |
/ |
|
|
งบประมาณ |
งบประมาณ
ประเภทงบประมาณ |
จำนวนงบประมาณ(บาท) |
หมายเหตุ |
ได้รับจัดสรร |
ใช้ดำเนินการ |
คงเหลือ |
เงินอุดหนุนรายหัว |
|
|
|
|
เงินรายได้สถานศึกษา |
932,000 |
318,358 |
613,642 |
|
เงินบำรุงการศึกษา |
|
|
|
|
เงินสมาคม |
|
|
|
|
เงินอื่น(ระบุ)......................... |
|
|
|
|
รวม |
932,000 |
318,358 |
613,642 |
|
|
การบรรลุตัวชี้วัด |
สรุปผลการดำเนินงานตามโครงการ
เป้าหมาย |
ผลการประเมิน |
การบรรลุเป้าหมาย |
บรรลุ |
ไม่บรรลุ |
เชิงปริมาณ |
1. จำนวนนักเรียนที่ได้ผลการเรียนระดับ 2 ขึ้นไปเพิ่มขึ้นอย่างน้อยร้อยละ 3 |
/ |
|
|
2.นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์และวิชาคณิตศาสตร์อยู่ในระดับ 3 ขึ้นไป ร้อยละ 100 |
|
/ |
เชิงคุณภาพ |
1. นักเรียนได้พัฒนาศักยภาพด้วยการเสริมเติมเต็มความรู้ในวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ และได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริงจากแหล่งเรียนรู้ภายนอก |
/ |
|
|
ความพึงพอใจ |
1. นักเรียนในโครงการส่งเสริมความสามารถด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ โรงเรียนนนทรีวิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 จำนวนประมาณ 110 คน เข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ใน 1 ปีการศึกษา ดังนี้ กิจกรรมสอนเสริมวันเสาร์ ทัศนศึกษา 2 ครั้งเข้าค่ายพักแรม 2 ครั้ง และกิจกรรมเสริมหลักสูตรอื่นๆอีก 1 ครั้ง
2. นักเรียนในโครงการส่งเสริมความสามารถด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ จำนวน 110 คน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์และวิชาคณิตศาสตร์อยู่ในระดับ 3 ขึ้นไป ร้อยละ 100
3. นักเรียนในโครงการส่งเสริมความสามารถด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ โรงเรียน
นนทรีวิทยา ได้พัฒนาศักยภาพด้วยการเสริมเติมเต็มความรู้ในวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ และได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริงจากแหล่งเรียนรู้ภายนอกเกิดการใฝ่รู้อย่างต่อเนื่องโดยผสมผสานสาระความรู้ด้านต่างๆ
4. นักเรียนได้เรียนวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์จากสื่ออิเลคทรอนิกส์โดยใช้สื่อ
โสตทัศนูปกรณ์ที่ทันสมัย |
ปัญหาและอุปสรรค |
- |
ข้อเสนอแนะ |
- |
รูปภาพประกอบ |
|