ชื่อโครงการ/กิจกรรม |
วิถีเศรษฐกิจพอเพียง |
ประเภท |
โรงเรียนที่จัดกิจกรรมการเรียนรู้ฯ ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง |
ปีการศึกษา |
2561 |
มาตรฐาน |
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน
1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน 1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
2.1 มีเป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกิจที่สถานศึกษากำหนดขัดเจน 2.2 มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา 2.3 ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาและทุกกลุ่มเป้าหมาย 2.5 จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
3.1 จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงและสามารถนำไปประยุกต็ใช้ในชีวิตได้ 3.3 มีการบริหารจัดการชั้นเรียบเชิงบวก 3.5 มีการแลกเปลียนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ |
ผู้รับผิดชอบ |
|
ความเป็นมา |
คำว่า “เศรษฐกิจพอเพียง” ที่ปวงชนชาวไทยได้ยินได้ศึกษามาช้านานเป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9 ทรงมีพระราชดำรัสแนะแนวทางการดำเนินชีวิตแก่พสกนิกรชาวไทยมายาวนานตั้งแต่เกิดยุควิกฤติเศรษฐกิจ ด้วยพระประสงค์ที่ต้องการให้ปวงชนชาวไทยดำรงชีวิตพอเพียงและอยู่อย่างมีความสุขอย่างยั่งยืน ไม่ว่าวิกฤตเศรษฐกิจจะเกิดขึ้นหรือสังคมโลกจะเปลี่ยนแปลงเช่นไรก็ตาม หากเรานำเอาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ย่อมใช้ชีวิตอยู่อย่างปกติสุขได้แน่นอน
“พอเพียง” หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจำเป็นที่ต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควร ต่อการมีผลกระทบใดๆอันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน ทั้งนี้จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบและความระมัดระวังอย่างยิ่งในการนำวิชาการต่างๆมาใช้ในการวางแผนและการทำทุกขั้นตอน ขณะเดียวกันต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติทุกระดับ ให้มีจิตสำนึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์ สุจริต ให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ตลอดจนดำเนินวิถีชีวิตด้วยความอดทน มีความเพียร มีสติ และความรอบคอบเพื่อให้มีสมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวางทั้งด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรมจากโลกภายนอก”
กระทรวงศึกษาธิการได้มีนโยบายการขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษาในทุกระดับ เพื่อให้ผู้บริหารองค์กร ผู้บริหารสถานศึกษา ครู บุคลากรด้านการศึกษา และนักเรียน นักศึกษา มีความรู้ความเข้าใจในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และสามารถนำหลักคิด หลักปฏิบัติตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาบูรณาการในการบริหารจัดการ การเรียนการสอน ตลอดจนการประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน ก่อให้เกิดความตระหนักและฝังรากลึกภายในตนเอง และผู้อื่นอย่างยั่งยืนตลอดไป
โรงเรียนโยธินบูรณะ เพชรบุรี สำนึกในพระมหากรุณาธิคุณแห่งองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9 ในฐานะที่ทรงเป็นกษัตริย์นักพัฒนา จึงน้อมนำพระราชดำรัสเรื่อเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นหลักปรัชญาวิถีชีวิตในการดำเนินการสร้างภูมิคุ้มกันทางสังคม รวมทั้งปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ในการดำเนินชีวิตของคนให้อยู่บนพื้นฐานของความพอเพียงและเชื่อมโยงเป็นเครือข่ายเพื่อการเรียนรู้ เพื่อให้เกิดการพัฒนาที่ยั่งยืนดังกล่าว โรงเรียนโยธินบูรณะ เพชรบุรี จึงจัดทำโครงการนี้ขึ้น
|
วัตถุประสงค์ |
ผลผลิต(Outputs)
1.เพื่อกำหนดเป้าหมายให้สถานศึกษาเป็นแบบอย่างการจัดกระบวนการเรียนการสอนและการบริหารจัดการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (สถานศึกษาพอเพียง)
2.เพื่อนำเอาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นบริบทในการบริหารจัดการของ
โรงเรียนได้อย่างเหมาะสมและมีผลสู่การดำเนินวิถีชีวิตที่มีคุณภาพของนักเรียน
3 เพื่อใช้โรงเรียนเป็นศูนย์กลางแหล่งเรียนรู้หรือรูปแบบของครู นักเรียน ผู้ปกครอง
ชุมชน ในการดำเนินการวิถีชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ผลลัพธ์ (Outcomes)
1 โรงเรียนเป็นแหล่งเรียนรู้ที่สำคัญในการศึกษาวิถีชีวิตเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษาพอเพียง
2 นักเรียน ชุมชน ผู้ปกครอง ได้เรียนรู้เพื่อนำสู่ชีวิตจริงของชุมชน
|
เป้าหมาย |
|
ระยะเวลา |
1 ต.ค. 2560 - 30 ก.ย. 2561 |
สถานที่ดำเนินการ |
โรงเรียนโยธินบูรณะ เพชรบุรี |
ตัวชี้วัด |
ผลผลิต/ผลลัพธ์ของโครงการ |
ตัวชี้วัด |
ค่าเป้าหมาย |
ระยะเวลา |
ผลผลิต |
|
|
|
นักเรียน ชุมชน มีแหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียนที่สามารถเป็น Best Practice เป็นแบบอย่างได้ |
- แบบประเมิน
- ใบงาน
- แบบฝึก
- ชุดการเรียนรู้ |
100% |
ตุลาคม 2561
ถึง
มีนาคม 2662 |
ผลลัพธ์ |
|
|
|
โรงเรียน ตำบล ชุมชนมีแหล่งศึกษาดูงานและฝึกปฏิบัติได้ครบวงจร เป็นที่ยอมรับพร้อมเป็นแบบอย่างที่ดีและยั่งยืน |
- แบบประเมิน
- ใบงาน
- แบบฝึก
- ชุดการเรียนรู้ |
100% |
ตุลาคม 2561
ถึง
มีนาคม 2662 |
|
ผลที่คาดว่าจะได้รับ |
1 ครู/นักเรียน/บุคลากร/ผู้ปกครอง/ชุมชนเข้าใจในทฤษฎีเศรษฐกิจพอเพียง
2 ครู/นักเรียน/บุคลากร/ผู้ปกครอง/ชุมชนได้นำเอาหลักประกันเศรษฐกิจพอเพียงไป ใช้ได้อย่างถูกต้องในชีวิตประจำวัน
3 ครู/นักเรียน/บุคลากร/ผู้ปกครอง/ชุมชนเกิดความภาคภูมิใจที่มีโอกาสได้แสดงความ จงรักภักดีแด่องค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเนื่องในวโรกาสอันสำคัญยิ่งของปวงชนชาวไทย
4 เกิดความสุขอันยั่งยืนสำหรับผู้ประพฤติปฏิบัติตนตามแนวพระราชดำริ
5 ชุมชนโรงเรียนเป็นสังคมคุณธรรมนำความรู้อย่างยั่งยืนอย่างแท้จริงตลอดไปอย่างมีความสุข
6 โรงเรียนเป็นโรงเรียนแบบอย่าง “สถานศึกษาพอเพียง” ของกระทรวงศึกษาธิการ |
สรุปคะแนนประเมิน |
5 |
ไฟล์ประกอบ |
|
ขั้นเตรียมการ |
กิจกรรม |
ระยะเวลาดำเนินงาน |
- วางแผนการดำเนินงาน (Plan)
วางแผนการจัดทำโครงการ |
ตุลาคม 2561
|
- ดำเนินการ (Do)
- จัดทำโครงการ
- ประชุมชี้แจงวัตถุประสงค์
- แต่งตั้งคณะทำงาน
- ดำเนินงานตามแผน
|
พฤศจิกายน 2561
ถึง
กุมภาพันธ์ 2562 |
- สรุปและประเมินผล (Check)
จัดทำรายงานผลการดำเนินงาน
|
มีนาคม 2562 |
- นำผลการประเมินไปปรับปรุง (Act)
วิเคราะห์ผลการดำเนินการ และปรับปรุงแก้ไข
|
มีนาคม 2562 |
|
ขั้นดำเนินการ |
ตัวชี้วัด |
วิธีการประเมินผล |
เครื่องมือที่ใช้ |
ผลผลิต
นักเรียน ชุมชน มีแหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียนที่สามารถเป็น Best Practice เป็นแบบอย่างได้
|
สังเกต
สัมภาษณ์
ภาพถ่าย เอกสาร
|
- แบบประเมิน
- ใบงาน
- แบบฝึก
- ชุดการเรียนรู้ |
ผลลัพธ์
โรงเรียน ตำบล ชุมชนมีแหล่งศึกษาดูงานและฝึกปฏิบัติได้ครบวงจร เป็นที่ยอมรับพร้อมเป็นแบบอย่างที่ดีและยั่งยืน |
สังเกต
สัมภาษณ์
ภาพถ่าย เอกสาร
|
- แบบประเมิน
- ใบงาน
- แบบฝึก
- ชุดการเรียนรู้
|
|
ขั้นตรวจสอบประเมินผล |
|
ขั้นสรุปและรายงาน |
|
งบประมาณ |
โครงการนี้ใช้งบประมาณทั้งหมด 15,000 บาท
เงินงบประมาณ 5,000 บาท
เงินนอกงบประมาณ 10,000 บาท
|
การบรรลุตัวชี้วัด |
ผลผลิต/ผลลัพธ์ของโครงการ |
ตัวชี้วัด |
ค่าเป้าหมาย |
ระยะเวลา |
ผลผลิต |
|
|
|
1 การเข้าร่วมกิจกรรมของบุคลากรและนักเรียน
|
นักเรียนทุกคนรู้จักการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ |
ร้อยละ 90 ของนักเรียนเข้าร่วม |
ตลอดกิจรรม |
ผลลัพธ์ |
|
|
|
2 ผลการแข่งขันของนักเรียนประเภทกีฬาต่างๆ
|
นักเรียนรู้จัก ยอมรับผล การตัดสิน
รู้แพ้ รู้ชนะ รู้อภัย |
ร้อยละ 90 ของนักเรียนมีเจตคติที่ดีต่อกิจกรรม |
ตลอดกิจรรม |
|
ความพึงพอใจ |
|
ปัญหาและอุปสรรค |
|
ข้อเสนอแนะ |
|
รูปภาพประกอบ |
|