ชื่อโครงการ/กิจกรรม |
กิจกรรมพัฒนาการเรียนการสอนเทคโนโลยีสู่ความเป็นเลิศตามมาตรฐานสากล |
ประเภท |
โรงเรียนมาตรฐานสากล (World-Class Standard School) |
ปีการศึกษา |
2561 |
มาตรฐาน |
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน
1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน 1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
2.5 จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ
3.1 จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงและสามารถนำไปประยุกต็ใช้ในชีวิตได้ 3.2 ใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ 3.3 มีการบริหารจัดการชั้นเรียบเชิงบวก 3.4 ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบและนำผลมาพัฒนาผู้เรียน 3.5 มีการแลกเปลียนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ |
ผู้รับผิดชอบ |
|
ความเป็นมา |
ปัจจุบันการเจริญเติบโตด้านเศรษฐกิจ สังคมและเทคโนโลยี ได้เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว และเกี่ยวข้องกับวิถีชีวิตของประชาชนทั่วไปมากยิ่งขึ้น ส่งผลให้การดำเนินชีวิตของทุก ๆ คน มีการพัฒนาและปรับตัวให้เหมาะสมกับสภาวการณ์ที่เปลี่ยนไปอยู่ตลอดเวลา ดังนั้น การจัดการศึกษา จึงจำเป็นต้องสร้างเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ ความสามารถ ที่เปลี่ยนแปลงตามสภาวการณ์ในปัจจุบัน การจัดกิจกรรมส่งเสริมสนับสนุนให้นักเรียนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานมีความเป็นเลิศทางวิชาการ มีความถนัดในการใช้สื่อเทคโนโลยี การสืบค้นและการสื่อสารข้อมูล เพื่อเป็นเครื่องมือในการแสวงหาความรู้ และกระบวนการจัดการเรียนการสอน
การพัฒนานักเรียน เพื่อนำไปสู่บุคลากรที่มีความรู้และทักษะเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น จึงเป็นสิ่งที่จำเป็น เพื่อให้การพัฒนาประเทศทั้งในภาคอุตสาหกรรม และภาควิชาการควบคู่กันไปอย่างมีประสิทธิภาพ การกระตุ้นให้เด็กนักเรียนในระดับมัธยมศึกษาซึ่งเป็นกำลังสำคัญของประเทศชาติ ที่จะพัฒนาต่อไปเป็นเยาวชนและบุคลากรที่มีความรู้ ความสามารถ ในการพัฒนาประเทศ มีความสนใจเทคโนโลยีใหม่ ๆ และเป็นแรงกระตุ้นให้ศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น โดยมุ่งเน้นให้นักเรียนได้ทดลอง หรือปฏิบัติจริงจะช่วยให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้แบบยั่งยืน พร้อมทั้งกระตุ้นความสนใจในทักษะนั้น ๆ การจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนยุคปัจจุบัน ควรมีรูปแบบที่หลากหลาย เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีประสิทธิภาพ โครงการห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และคอมพิวเตอร์ (No Paper) เป็นโครงการหนึ่งที่โรงเรียนเปิดหลักสูตรการเรียนการสอนขึ้น เพื่อให้นักเรียนได้มีทางเลือก ตรงกับความสนใจและความถนัดของตนเอง สามารถใช้เทคโนโลยีในการสร้างสื่ออิเล็กทรอนิกส์ในรูปแบบต่าง ๆ ได้อย่างสร้างสรรค์
โรงเรียนสภาราชินี จังหวัดตรัง เป็นโรงเรียนมาตรฐานสากลโรงเรียนหนึ่งที่จะต้องพัฒนานักเรียนให้เป็นผู้พร้อมด้วยคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ตลอดจนสนับสนุนส่งเสริมให้ครูได้ใช้ความรู้ ความสามารถ ในการพัฒนา การเรียนการสอนอย่างเต็มความสามารถ
ดังนั้น การจัดการเรียนการสอนโครงการห้องเรียนพิเศษ No paper โรงเรียนสภาราชินี จังหวัดตรัง จึงจำเป็นต้องจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาศักยภาพโดยการจัดการเรียนรู้ออนไลน์ มุ่งพัฒนาศักยภาพนักเรียนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สนับสนุนแนวคิดเพื่อสาธารณประโยชน์ มีความเป็นเลิศทางวิชาการได้มาตรฐานชาติ สามารถสื่อสารสองภาษา ล้ำหน้าทางความคิด รู้จักใช้ เทคโนโลยีเพื่อการออกแบบและสร้างสรรค์ผลงาน เพื่อแข่งขันในระดับชาติและนานาชาติ ดังนั้น การเรียนการสอนในห้องเรียนเพียงอย่างเดียว ไม่สามารถสนองความต้องการของนักเรียนดังกล่าวได้ครบถ้วน จึงมีความจำเป็นที่จะต้องมีการจัดกิจกรรมเสริมให้กับนักเรียนและครูผู้สอน ที่จะได้พัฒนาศักยภาพของตนเอง เพื่อเป็นกำลังสำคัญในการขับเคลื่อนประเทศในอนาคตต่อไป
|
วัตถุประสงค์ |
2.1 เพื่อให้ผู้เรียนสามารถสร้างสรรค์ความคิดใหม่ ๆ สร้างผลงาน สู่การแข่งขันในระดับชาติและนานาชาติ จัดทำโครงงานที่เสนอแนวคิดเพื่อสาธารณะประโยชน์ และสามารถถ่ายโอนความรู้กับสถานศึกษาระดับต่าง ๆ ได้
2.2 เพื่อให้ครูและนักเรียนสามารถใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยในการจัดการเรียนการสอน ตลอดจนการสร้างสื่อและนวัตกรรมเพื่อพัฒนาผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง
2.3 เพื่อส่งเสริม สนับสนุนให้ครูเป็นผู้มีความสามารถในวิชาชีพ สร้างสื่อนวัตกรรม ใช้เทคโนโลยีเพื่อการจัดการเรียนการสอน การสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
|
เป้าหมาย |
1 เป้าหมายด้านปริมาณ
1.1 นักเรียนห้องเรียนพิเศษ No Paper มีผลสัมฤทธิ์สูง สามารถเข้าร่วมแข่งขันทักษะทางวิชาการ ใช้
1.2 เทคโนโลยีเพื่อการออกแบบและสร้างสรรค์ผลงาน กับสถาบันการศึกษาต่างๆ ได้อย่างต่อเนื่อง
1.3 ครูทุกคนมีทักษะในการจัดการเรียนการสอนและการใช้สื่อเทคโนโลยี
1.4 โรงเรียนมีระบบเทคโนโลยีที่เป็นระบบ ทันสมัย พร้อมที่จะให้บริการต่อนักเรียน ครู ทุกคน อย่างมีประสิทธิภาพ
2.เป้าหมายด้านคุณภาพ
2.1 นักเรียนทุกคนได้เรียนและใช้สื่อเทคโนโลยีในการเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ
2.2 ครูทุกคนได้ใช้สื่อเทคโนโลยีในการจัดการเรียนการสอนอย่างหลากหลาย |
ระยะเวลา |
24 ส.ค. 2561 - 24 ส.ค. 2561 |
สถานที่ดำเนินการ |
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์,โรงเรียนสภาราชินี จังหวัดตรัง |
ตัวชี้วัด |
-นักเรียนห้องเรียนพิเศษ No Paper มีผลสัมฤทธิ์สูง สามารถเข้าร่วมแข่งขันทักษะทางวิชาการ ใช้ เทคโนโลยีเพื่อการออกแบบและสร้างสรรค์ผลงาน กับสถาบันการศึกษาต่างๆ ได้อย่างต่อเนื่อง
- ครูและนักเรียน มีเทคโนโลยีที่ทันสมัยในการจัดการเรียนการสอน ครูสามารถสร้างสื่อและนวัตกรรมเพื่อพัฒนาผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง
- โรงเรียนดำเนินการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษานักเรียนห้องเรียนพิเศษ No Paper ให้สอดคล้องกับกระบวนการเรียนรู้ สื่อและเทคโนโลยีที่ส่งผลต่อการพัฒนาคุณลักษณะของผู้เรียนสู่มาตรฐานสากล
- นักเรียนเกิดการพัฒนาตนเองให้มีความรู้ ความสามารถ ใช้เทคโนโลยีเพื่อการออกแบบและสร้างสรรค์ผลงานได้อย่างสร้างสรรค์ สามารถนำไปใช้ในการดำรงชีวิตอย่างมีความสุข
- ครู มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการจัดกิจกรรมพัฒนาส่งเสริมศักยภาพนักเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
|
ผลที่คาดว่าจะได้รับ |
8.1 ผู้เรียนสามารถสร้างสรรค์ความคิดใหม่ ๆ สร้างผลงาน สู่การแข่งขันในระดับชาติและนานาชาติ จัดทำโครงงานที่เสนอแนวคิดเพื่อสาธารณะประโยชน์ และสามารถถ่ายโอนความรู้กับสถานศึกษาระดับต่าง ๆ ได้
8.2 ครูและนักเรียนสามารถใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยในการจัดการเรียนการสอน ตลอดจนการสร้างสื่อและนวัตกรรมเพื่อพัฒนาผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง
8.3 โรงเรียนส่งเสริม สนับสนุนให้ครูเป็นผู้มีความสามารถในวิชาชีพ สร้างสื่อนวัตกรรม ใช้เทคโนโลยีเพื่อการจัดการเรียนการสอน การสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
|
สรุปคะแนนประเมิน |
0.00 |
ไฟล์ประกอบ |
|
ขั้นเตรียมการ |
|
ขั้นดำเนินการ |
|
ขั้นตรวจสอบประเมินผล |
|
ขั้นสรุปและรายงาน |
|
งบประมาณ |
ตาราง 1 การใช้จ่ายงบประมาณ
รายการ |
งบประมาณที่กำหนดไว้ในแผน |
งบประมาณที่ใช้จ่ายจริง |
1.เงินอุดหนุนการศึกษา |
|
|
2.เงินรายได้สถานศึกษา |
|
|
3.อื่นๆ |
|
|
รวม |
|
|
คงเหลือ |
|
|
การบรรลุตัวชี้วัด |
1.ผลสำเร็จตามตัวชี้วัดความสำเร็จ
ตัวชี้วัดความสำเร็จ |
ร้อยละของผลสำเร็จ |
เป้าหมาย |
ผลการดำเนิน |
1. |
|
|
2. |
|
|
3. |
|
|
4. |
|
|
2. สรุปผลสำเร็จของโครงการ
ผลสำเร็จของโครงการโดยรวม คิดเป็นร้อยละ ..................
ระดับความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการโดยรวม มีค่าเฉลี่ย ..................
อยู่ในระดับ ..................
เกณฑ์การสรุปผลค่าเฉลี่ยของระดับความพึงพอใจ
ค่าเฉลี่ย ......................... หมายถึง ระดับ ............
ค่าเฉลี่ย ......................... หมายถึง ระดับ ............
ค่าเฉลี่ย ......................... หมายถึง ระดับ ............
ค่าเฉลี่ย ......................... หมายถึง ระดับ ............
ค่าเฉลี่ย ......................... หมายถึง ระดับ ............ |
ความพึงพอใจ |
ตาราง 2 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม/แบบประเมิน
ข้อมูลทั่วไป |
จำนวน (คน) |
ร้อยละ |
1. เพศ
1.1 ชาย
1.2 หญิง |
23
22 |
2
3 |
รวม |
23 |
22 |
2. อายุ
2.1 น้อยกว่า 25 ปี
2.2 25-35 ปี
2.3 36-45 ปี
2.4 มากกว่า 45 ปี |
1
2
3
4 |
3
4
5
5 |
รวม |
23 |
34 |
จากตาราง 2 พบว่า ผู้เข้าร่วมโครงการ/กิจกรรม ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงมีจำนวน ............. คน (ร้อยละ …………….) อายุ 25-35 ปี มีจำนวน ............ คน (ร้อยละ .............) รองลงมา 36-45 ปี มีจำนวน ............ คน (ร้อยละ ...............) ฯลฯ ตอนที่ 3 ความพึงพอใจในของผู้เข้าร่วมโครงการ/กิจกรรม
รายการประเมิน |
|
S.D. |
ร้อยละ |
ระดับความพึงพอใจ |
1.
2.
3.
4.
5. |
|
|
|
|
รวม |
|
|
|
|
จากตาราง 3 พบว่า ผู้เข้าร่วมโครงการ/กิจกรรม มีความพึงพอใจในการจัดโครงการในภาพรวม อยู่ในระดับ ................ มีค่าคะแนนเฉลี่ย ................... (ร้อยละ ................) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านหรือราข้อ พบว่า ผู้เข้าร่วมโครงการ/กิจกรรม มีความพึงพอใจในด้าน ................................. หรือ ข้อคำถาม .................. ในระดับ ................ มีค่าคะแนนเฉลี่ย ................... (ร้อยละ ................) ฯลฯ |
ปัญหาและอุปสรรค |
|
ข้อเสนอแนะ |
|
รูปภาพประกอบ |
|