ชื่อโครงการ/กิจกรรม |
พัฒนาศักยภาพนักเรียนห้องเรียนพิเศษ สสวท. |
ประเภท |
โรงเรียนมาตรฐานสากล (World-Class Standard School) |
ปีการศึกษา |
2561 |
มาตรฐาน |
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน
1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน
3.1 จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงและสามารถนำไปประยุกต็ใช้ในชีวิตได้ 3.2 ใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ 3.3 มีการบริหารจัดการชั้นเรียบเชิงบวก 3.4 ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบและนำผลมาพัฒนาผู้เรียน 3.5 มีการแลกเปลียนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ |
ผู้รับผิดชอบ |
|
ความเป็นมา |
โครงการห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม (สสวท.) เป็นโครงการในความร่วมมือระหว่างสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) มีรูปแบบการจัดห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์โดยใช้หลักสูตรการจัดการเรียนการสอนตามแนวทางของ สสวท. นักเรียนได้รับการพัฒนาและส่งเสริมกิจกรรมทางวิชาการเพิ่มเติมพิเศษ กิจกรรมการเข้าค่ายวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี กิจกรรมการศึกษาดูงานต่างๆ โดยเป้าหมายสำคัญของกิจกรรมเพื่อพัฒนานักเรียนให้มีความเป็นนักวิจัย โดยเริ่มจากการทำโครงงานทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม รวมทั้งนโยบายการจัดการศึกษาปัจจุบันมุ่งเน้นให้นักเรียนรู้จักการคิดวิเคราะห์ คิดเป็น แก้ปัญหาเป็น และยังต้องสร้างนวัตกรรมได้อย่างสร้างสรรค์ นอกเหนือจากการจัดการเรียนการสอนในห้องเรียนให้นักเรียนมีพื้นฐานในการถูกเติมเต็มความรู้แล้ว การสร้างเสริมประสบการณ์เพื่อเป็นพื้นฐานสู่การเป็นนักวิทยาศาสตร์ยังมีความจำเป็นอย่างยิ่ง
เพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์การจัดการศึกษาสู่ความเป็นเลิศทางวิชาการ การจัดกิจกรรมค่ายวิชาการเพือเติมเต็มพื้นฐานทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การจัดกิจกรรมศึกษาดูงานเป็นกิจกรรมอย่างหนึ่งที่ช่วยให้นักเรียนได้เปิดโลกทัศน์การเรียนรู้ ได้รับทราบถึงแนวการเรียนรู้ในหลากหลายรูปแบบและจากหลากหลายแหล่งเรียนรู้ ซึ่งในห้องเรียนอาจไม่เพียงพอ โดยแหล่งเรียนรู้ในการศึกษาดูงานอาจเป็นผู้นำทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม หรือเป็นผู้ที่ได้นำหลักการทางวิทยาศาสตร์ไปใช้ในการดำรงชีวิตอย่างแท้จริง รวมไปถึงการน้อมนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ได้อย่างมีเหตุผลด้วย ซึ่งกิจกรรมดังกล่าว สามารถสร้างเสริมประสบการณ์ให้นักเรียนมีแนวคิดใหม่ๆ ในการคิดสร้างนวัตกรรม หรือทำโครงงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถนำเสนอผลงานของตนเองได้ โดยทางกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ร่วมกันสร้างเวทีแห่งการเรียนรู้ให้แก่นักเรียน จัดกิจกรรมนำเสนอโครงงานให้แก่นักเรียน อันเป็นเวทีเริ่มต้นแก่นักเรียนในการแสดงศักยภาพของผลแห่งการเรียนรู้ได้อย่างเป็นรูปธรรม เห็นถึงความก้าวทางการศึกษาของนักเรียนจากการสร้างเสริมประสบการณ์ที่ผ่านมา และแสดงให้เห็นถึงการประยุกต์ความรู้สู่นวัตกรรมอย่างสร้างสรรค์
|
วัตถุประสงค์ |
1.เพื่อเพิ่มพูนความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมแก่นักเรียน
2.เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี จากแหล่งเรียนรู้จริงโดยทำให้เกิดการ คิดเป็น ทำเป็น และแก้ปัญหาเป็น
3..เพื่อให้นักเรียนมีผลงานการทำโครงงานและสามารถนำเสนอผลงานของตนเองได้
|
เป้าหมาย |
3.1 ด้านปริมาณ
3.1.1 นักเรียนห้องเรียนพิเศษ สสวท. ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ปีการศึกษา 2560 จำนวน 60 คน ผ่านการเข้าร่วมกิจกรรมค่ายวิชาการด้านเทคนิคปฏิบัติการและศึกษาแหล่งเรียนรู้
3.1.2 นักเรียนห้องเรียนพิเศษ สสวท. ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ปีการศึกษา 2560 จำนวน 60 คน ผ่านการเข้าร่วมกิจกรรมนำเสนอโครงงานจบ
3.1.3 นักเรียนห้องเรียนพิเศษ สสวท. ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ปีการศึกษา 2560 จำนวน 60 คน ผ่านการเข้าร่วมกิจกรรมค่ายสิ่งแวดล้อม
3.2 ด้านคุณภาพ
3.2.1 นักเรียนได้รับความรู้และสามารถนำเสนอผลงานของตนเองได้
3.2.2 นักเรียนได้รับความรู้จากการศึกษาดูงานจากแหล่งเรียนรู้นอกห้องเรียน
3.2.3 นักเรียนได้นำเสนอผลงานและแข่งขันทักษะทางวิชาการตามศักยภาพ |
ระยะเวลา |
24 ส.ค. 2561 - 24 ส.ค. 2561 |
สถานที่ดำเนินการ |
โรงเรียนสภาราชินี จังหวัดตรัง และแหล่งเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม |
ตัวชี้วัด |
1.หลักสูตรห้องเรียนพิเศษ สสวท.แหล่งเรียนรู้ศักยภาพนักเรียน
2.งบประมาณดำเนินงานทรัพยากรดำเนินงาน
3.ระยะเวลาดำเนินการกิจกรรมสร้างเสริมความรู้
4.จำนวนนักเรียนที่ผ่านกิจกรรมผลงานโครงงานนักเรียนผลการศึกษาต่อ
|
ผลที่คาดว่าจะได้รับ |
1 นักเรียนมีความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมเพิ่มขึ้น
2 นักเรียนได้เรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี จากแหล่งเรียนรู้จริงโดยทำให้เกิดการ คิดเป็น ทำเป็น และแก้ปัญหาเป็น
3 นักเรียนได้รับความรู้และทักษะกระบวนการจากกิจกรรมในค่าย และหน่วยงานที่ส่งเสริมความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี
4 นักเรียนเกิดแนวทางการนำเสนอโครงงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5 นักเรียนมีโลกทัศน์ วิสัยทัศน์ที่กว้างไกลและมีเจตคติที่ดีต่อวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี |
สรุปคะแนนประเมิน |
0.00 |
ไฟล์ประกอบ |
|
ขั้นเตรียมการ |
|
ขั้นดำเนินการ |
|
ขั้นตรวจสอบประเมินผล |
|
ขั้นสรุปและรายงาน |
|
งบประมาณ |
ตาราง 1 การใช้จ่ายงบประมาณ
รายการ |
งบประมาณที่กำหนดไว้ในแผน |
งบประมาณที่ใช้จ่ายจริง |
1.เงินอุดหนุนการศึกษา |
|
|
2.เงินรายได้สถานศึกษา |
|
|
3.อื่นๆ |
|
|
รวม |
|
|
คงเหลือ |
|
|
การบรรลุตัวชี้วัด |
1.ผลสำเร็จตามตัวชี้วัดความสำเร็จ
ตัวชี้วัดความสำเร็จ |
ร้อยละของผลสำเร็จ |
เป้าหมาย |
ผลการดำเนิน |
1. |
|
|
2. |
|
|
3. |
|
|
4. |
|
|
2. สรุปผลสำเร็จของโครงการ
ผลสำเร็จของโครงการโดยรวม คิดเป็นร้อยละ ..................
ระดับความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการโดยรวม มีค่าเฉลี่ย ..................
อยู่ในระดับ ..................
เกณฑ์การสรุปผลค่าเฉลี่ยของระดับความพึงพอใจ
ค่าเฉลี่ย ......................... หมายถึง ระดับ ............
ค่าเฉลี่ย ......................... หมายถึง ระดับ ............
ค่าเฉลี่ย ......................... หมายถึง ระดับ ............
ค่าเฉลี่ย ......................... หมายถึง ระดับ ............
ค่าเฉลี่ย ......................... หมายถึง ระดับ ............ |
ความพึงพอใจ |
ตาราง 2 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม/แบบประเมิน
ข้อมูลทั่วไป |
จำนวน (คน) |
ร้อยละ |
1. เพศ
1.1 ชาย
1.2 หญิง |
23
22 |
2
3 |
รวม |
23 |
22 |
2. อายุ
2.1 น้อยกว่า 25 ปี
2.2 25-35 ปี
2.3 36-45 ปี
2.4 มากกว่า 45 ปี |
1
2
3
4 |
3
4
5
5 |
รวม |
23 |
34 |
จากตาราง 2 พบว่า ผู้เข้าร่วมโครงการ/กิจกรรม ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงมีจำนวน ............. คน (ร้อยละ …………….) อายุ 25-35 ปี มีจำนวน ............ คน (ร้อยละ .............) รองลงมา 36-45 ปี มีจำนวน ............ คน (ร้อยละ ...............) ฯลฯ ตอนที่ 3 ความพึงพอใจในของผู้เข้าร่วมโครงการ/กิจกรรม
รายการประเมิน |
|
S.D. |
ร้อยละ |
ระดับความพึงพอใจ |
1.
2.
3.
4.
5. |
|
|
|
|
รวม |
|
|
|
|
จากตาราง 3 พบว่า ผู้เข้าร่วมโครงการ/กิจกรรม มีความพึงพอใจในการจัดโครงการในภาพรวม อยู่ในระดับ ................ มีค่าคะแนนเฉลี่ย ................... (ร้อยละ ................) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านหรือราข้อ พบว่า ผู้เข้าร่วมโครงการ/กิจกรรม มีความพึงพอใจในด้าน ................................. หรือ ข้อคำถาม .................. ในระดับ ................ มีค่าคะแนนเฉลี่ย ................... (ร้อยละ ................) ฯลฯ |
ปัญหาและอุปสรรค |
|
ข้อเสนอแนะ |
|
รูปภาพประกอบ |
|