ชื่อโครงการ/กิจกรรม |
ส่งเสริมความสามารถนักเรียนห้องเรียนพิเศษ สสวท. |
ประเภท |
โรงเรียนมาตรฐานสากล (World-Class Standard School) |
ปีการศึกษา |
2561 |
มาตรฐาน |
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน
1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน 1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน
|
ผู้รับผิดชอบ |
|
ความเป็นมา |
การศึกษาในยุคปัจจุบันมุ่งเน้นการจัดการเรียนการสอนแบบคิดวิเคราะห์มากกว่าการท่องจำตามตำราเรียน โดยนักเรียนจะสามารถคิดวิเคราะห์จนสามารถคิดแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ต้องมีประสบการณ์และมีโลกทัศน์ที่กว้างไกล โดยการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 มุ่งเน้นให้สถานศึกษาจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมกระบวนการคิดของผู้เรียนเป็นสิ่งสำคัญและหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544 มุ่งหวังให้ผู้เรียนได้เรียนรู้วิทยาศาสตร์ที่เน้นกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ไปสู่การสร้างองค์ความรู้โดยผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนการสอนเน้นการฝึกทักษะกระบวนการคิดพัฒนาความคิดให้เกิดกับผู้เรียนรวมทั้งผู้จบการศึกษาขั้นพื้นฐานต้องมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์อ่านและเขียนเพราะกระบวนการคิด กระบวนการแสวงหาความรู้ ความสามารถในการกล้าคิด กล้าทำ กล้าแสดงออกอย่างสร้างสรรค์ จะเป็นสิ่งที่ติดตัวนักเรียนตลอดไป ดังนั้นนักเรียนโครงการห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม (สสวท.) ซึ่งเป็นโครงการในความร่วมมือระหว่างสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) มีรูปแบบการจัดห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์โดยใช้หลักสูตรการจัดการเรียนการสอนตามแนวทางของ สสวท. นักเรียนได้รับการพัฒนาและส่งเสริมกิจกรรมทางวิชาการเพิ่มเติมพิเศษ กิจกรรมการเข้าค่ายวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี โดยเป้าหมายสำคัญของกิจกรรมเพื่อพัฒนานักเรียนให้มีความเป็นนักวิจัย โดยเริ่มจากการทำโครงงานทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
จากหลักการและเหตุผลดังกล่าว กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และการงานอาชีพ(คอมพิวเตอร์) จึงจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรและเติมเต็มประสบการณ์ให้แก่นักเรียน เช่น กิจกรรมศึกษาแหล่งเรียนรู้เพื่อเปิดโลกทัศน์ทางการศึกษาในหลากหลายด้าน กิจกรรมเติมเต็มองค์ความรู้เชิงวิชาการเพื่อทบทวนความรู้ เติมเต็มเนื้อหาวิชาการ และกระตุ้นให้นักเรียนได้มองอนาคตอย่างชาญฉลาด ทั้งเครือข่ายโรงเรียนโครงการห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ ภาคใต้ตอนบน ได้ดำเนินการจัดค่ายวิทยาศาสตร์รวมเครือข่ายภาคใต้ตอนบนแก่นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เพื่อให้นักเรียนแต่ละโรงเรียนได้ทำความรู้จักกัน และทำกิจกรรมร่วมกัน เป็นการสร้างเครือข่ายวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ระหว่างนักเรียนอันนำไปสู่เครือข่ายทางวิชาการในอนาคต และทางเครือข่ายภาคใต้ตอนบนได้จัดกิจกรรมงานวันวิชาการเปิดบ้านห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ เครือข่ายภาคใต้ตอนบน เพื่อเป็นเวทีการนำเสนอผลงานวิชาการของนักเรียนในโครงการได้มีโอกาสเผยแพร่ผลงานด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สร้างสรรค์กิจกรรมร่วมกัน และมีการถ่ายทอดทักษะ ประสบการณ์การดำเนินงานในกลุ่มเครือข่ายเดียวกัน |
วัตถุประสงค์ |
2.1 เพื่อเพิ่มพูนความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมแก่นักเรียน
2.2 เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี จากแหล่งเรียนรู้จริงโดยทำให้เกิดการ คิดเป็น ทำเป็น และแก้ปัญหาเป็น
2.3 เพื่อให้นักเรียนได้รับความรู้และทักษะกระบวนการจากกิจกรรมในค่าย และหน่วยงานที่ส่งเสริมความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี
2.4 เพื่อให้นักเรียนเกิดแนวทางการนำเสนอโครงงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2.5 เพื่อให้นักเรียนมีโลกทัศน์ วิสัยทัศน์ที่กว้างไกลและมีเจตคติที่ดีต่อวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี
|
เป้าหมาย |
1 ด้านปริมาณ
1.1 นักเรียนห้องเรียนพิเศษ สสวท. ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ปีการศึกษา 2561 จำนวน 60 คน ผ่านการเข้าร่วมกิจกรรมค่ายนิติวิทยาศาสตร์
1.2 นักเรียนห้องเรียนพิเศษ สสวท. ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2561 จำนวน 30 คน ผ่านกิจกรรมเติมเต็มความรู้เชิงวิชาการ
1.3 นักเรียนห้องเรียนพิเศษ สสวท. ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ปีการศึกษา 2561 จำนวน 260 คน ผ่านกิจกรรมค่ายวิทยาศาสตร์รวม เครือข่ายภาคใต้ตอนบน
1.4 นักเรียนห้องเรียนพิเศษ สสวท. ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2561 จำนวน 30 คน ผ่านการเข้าร่วมกิจกรรมเปิดบ้านวิชาการห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ เครือข่ายภาคใต้ตอนบน
2 ด้านคุณภาพ
2.1 นักเรียนได้รับการเติมเต็มองค์ความรู้เชิงวิชาการ
2.2 นักเรียนได้รับความรู้จากการศึกษาดูงานจากแหล่งเรียนรู้นอกห้องเรียน
2.3 นักเรียนได้นำเสนอผลงานและแข่งขันทักษะทางวิชาการตามศักยภาพ |
ระยะเวลา |
24 ส.ค. 2561 - 24 ส.ค. 2561 |
สถานที่ดำเนินการ |
มหาวิทยาลัยใกล้เคียง และ ศูนย์ประชุม ไบเทคบางนา,จังหวัดตรัง จังหวัดชุมพร และจังหวัดภูเก็ต, |
ตัวชี้วัด |
-หลักสูตรห้องเรียนพิเศษ สสวท.แหล่งเรียนรู้ศักยภาพนักเรียน
-งบประมาณดำเนินงานทรัพยากรดำเนินงาน
-ระยะเวลาดำเนินการกิจกรรมสร้างเสริมความรู้
-จำนวนนักเรียนที่ผ่านกิจกรรมผลงานโครงงานนักเรียนผลการศึกษาต่อ |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ |
|
สรุปคะแนนประเมิน |
0.00 |
ไฟล์ประกอบ |
|
ขั้นเตรียมการ |
|
ขั้นดำเนินการ |
|
ขั้นตรวจสอบประเมินผล |
|
ขั้นสรุปและรายงาน |
|
งบประมาณ |
ตาราง 1 การใช้จ่ายงบประมาณ
รายการ |
งบประมาณที่กำหนดไว้ในแผน |
งบประมาณที่ใช้จ่ายจริง |
1.เงินอุดหนุนการศึกษา |
|
|
2.เงินรายได้สถานศึกษา |
|
|
3.อื่นๆ |
|
|
รวม |
|
|
คงเหลือ |
|
|
การบรรลุตัวชี้วัด |
1.ผลสำเร็จตามตัวชี้วัดความสำเร็จ
ตัวชี้วัดความสำเร็จ |
ร้อยละของผลสำเร็จ |
เป้าหมาย |
ผลการดำเนิน |
1. |
|
|
2. |
|
|
3. |
|
|
4. |
|
|
2. สรุปผลสำเร็จของโครงการ
ผลสำเร็จของโครงการโดยรวม คิดเป็นร้อยละ ..................
ระดับความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการโดยรวม มีค่าเฉลี่ย ..................
อยู่ในระดับ ..................
เกณฑ์การสรุปผลค่าเฉลี่ยของระดับความพึงพอใจ
ค่าเฉลี่ย ......................... หมายถึง ระดับ ............
ค่าเฉลี่ย ......................... หมายถึง ระดับ ............
ค่าเฉลี่ย ......................... หมายถึง ระดับ ............
ค่าเฉลี่ย ......................... หมายถึง ระดับ ............
ค่าเฉลี่ย ......................... หมายถึง ระดับ ............ |
ความพึงพอใจ |
ตาราง 2 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม/แบบประเมิน
ข้อมูลทั่วไป |
จำนวน (คน) |
ร้อยละ |
1. เพศ
1.1 ชาย
1.2 หญิง |
23
22 |
2
3 |
รวม |
23 |
22 |
2. อายุ
2.1 น้อยกว่า 25 ปี
2.2 25-35 ปี
2.3 36-45 ปี
2.4 มากกว่า 45 ปี |
1
2
3
4 |
3
4
5
5 |
รวม |
23 |
34 |
จากตาราง 2 พบว่า ผู้เข้าร่วมโครงการ/กิจกรรม ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงมีจำนวน ............. คน (ร้อยละ …………….) อายุ 25-35 ปี มีจำนวน ............ คน (ร้อยละ .............) รองลงมา 36-45 ปี มีจำนวน ............ คน (ร้อยละ ...............) ฯลฯ ตอนที่ 3 ความพึงพอใจในของผู้เข้าร่วมโครงการ/กิจกรรม
รายการประเมิน |
|
S.D. |
ร้อยละ |
ระดับความพึงพอใจ |
1.
2.
3.
4.
5. |
|
|
|
|
รวม |
|
|
|
|
จากตาราง 3 พบว่า ผู้เข้าร่วมโครงการ/กิจกรรม มีความพึงพอใจในการจัดโครงการในภาพรวม อยู่ในระดับ ................ มีค่าคะแนนเฉลี่ย ................... (ร้อยละ ................) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านหรือราข้อ พบว่า ผู้เข้าร่วมโครงการ/กิจกรรม มีความพึงพอใจในด้าน ................................. หรือ ข้อคำถาม .................. ในระดับ ................ มีค่าคะแนนเฉลี่ย ................... (ร้อยละ ................) ฯลฯ |
ปัญหาและอุปสรรค |
|
ข้อเสนอแนะ |
|
รูปภาพประกอบ |
|