ชื่อโครงการ/กิจกรรม |
พัฒนาโรงเรียนมาตรฐานสากลและโรงเรียนคุณภาพประจำตำบล เพื่อยกระดับคุณภาพโรงเรียนพรเจริญวิทยาสู่ความยั่งยืน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง |
ประเภท |
โรงเรียนมาตรฐานสากล (World-Class Standard School) |
ปีการศึกษา |
2562 |
มาตรฐาน |
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน
1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน 1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
2.1 มีเป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกิจที่สถานศึกษากำหนดขัดเจน 2.2 มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา 2.3 ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาและทุกกลุ่มเป้าหมาย 2.4 พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ 2.5 จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ 2.6 จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
3.1 จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงและสามารถนำไปประยุกต็ใช้ในชีวิตได้ 3.2 ใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ 3.3 มีการบริหารจัดการชั้นเรียบเชิงบวก 3.4 ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบและนำผลมาพัฒนาผู้เรียน 3.5 มีการแลกเปลียนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ |
ผู้รับผิดชอบ |
|
ความเป็นมา |
จากสภาพปัญหาเศรษฐกิจ สังคม การเมืองและสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นล้อมรอบตัวเราในปัจจุบัน ด้วยความเจริญด้านวัตถุแต่คุณธรรมจริยธรรมกลับเสื่อมโทรมลง ส่งผลกระทบต่อนักเรียนและผู้คนในวงกว้าง โรงเรียนพรเจริญวิทยาได้ขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสถานศึกษาด้วยการนำมาเป็นหลักคิดหลักปฏิบัติ ในการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้มาเป็นเวลานาน ที่อาศัยหลักการพึ่งตนเองอันเกิดจาก ศึกษาทดลองหาวิธีการที่เหมาะสม ดังนั้นเมื่อโรงเรียนได้รับคัดเลือกเข้าร่วมโครงการโรงเรียนมาตรฐานสากล (OBECQA) ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อให้เกิดคุณภาพในทุกงานและบุคลากร และให้เกิดความยั่งยืนของระบบคุณภาพ โรงเรียนจึงได้จัดทำพัฒนาโรงเรียนมาตรฐานสากลและโรงเรียนคุณภาพประจำตำบล เพื่อยกระดับคุณภาพโรงเรียนพรเจริญวิทยาสู่ความยั่งยืน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ขึ้น โดยมีเป้าหมายที่จะให้โรงเรียนมีการบริหารจัดการระบบคุณภาพและจัดการเรียนรู้ได้มาตรฐานสากลที่มีความยั่งยืน เป็นผู้นำที่ดีของสังคม มีอุปนิสัยพอเพียง มีเจตคติที่ดีต่อสัมมาชีพ สามารถเลือกศึกษาต่อได้ถูกต้องตรง กับความต้องการของท้องถิ่น มีศักยภาพเป็นพลโลก สามารถอยู่ร่วมกันได้ในประชาคมโลกอย่างมีความสุข
|
วัตถุประสงค์ |
1. เพื่อส่งเสริมให้ครูและบุคลากรได้พัฒนาตนเองให้มีความเชี่ยวชาญในวิชาชีพ
2. เพื่อให้ครูและบุคลากรได้พัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
|
เป้าหมาย |
๓. เป้าหมายโครงการ
๓.๑ เป้าหมายเชิงปริมาณ
๓.๑.๑ ครูโรงเรียนพรเจริญวิทยาทุกคน
3.1.2 นักเรียนโรงเรียนพรเจริญวิทยาทุกคน
๓.๒ เป้าหมายเชิงคุณภาพ
๓.๒.๑ ครูมีความรู้ความเข้าใจจากการได้เข้ารับการพัฒนาตนเอง
๓.๒.๒ ครูได้นำความรู้จากการพัฒนาตนเองมาใช้ในการจัดการเรียนการสอน
|
ระยะเวลา |
1 ก.ค. 2563 - 26 ก.พ. 2564 |
สถานที่ดำเนินการ |
โรงเรียนพรเจริญวิทยา |
ตัวชี้วัด |
1. ครูโรงเรียนพรเจริญวิทยา ร้อยละ 80 มีความพึงพอใจในการเข้ารับการพัฒนาตนเอง
๒. ครูโรงเรียนพรเจริญวิทยา ร้อยละ 80นำความรู้และประสบการณ์
จากการพัฒนาตนเองมาใช้ในการจัดการเรียนการสอน |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ |
1. ครูโรงเรียนพรเจริญวิทยา มีขวัญและกำลังใจที่ดี มีความรัก สามัคคี
มีความสัมพันธ์อันดีต่อกัน
2. ครูโรงเรียนพรเจริญวิทยา มีผลการปฏิบัติงานดีเด่น
3. ครูโรงเรียนพรเจริญวิทยา ได้พัฒนาตนเองด้านวิชาการ
|
สรุปคะแนนประเมิน |
0.00 |
ไฟล์ประกอบ |
|
ขั้นเตรียมการ |
|
ขั้นดำเนินการ |
|
ขั้นตรวจสอบประเมินผล |
|
ขั้นสรุปและรายงาน |
|
งบประมาณ |
เงินอุดหนุนรายหัว 100,000 บาท (หนึ่งแสนบาทถ้วน) |
การบรรลุตัวชี้วัด |
1. สอบถามความพึงพอใจ ของผู้ร่วมกิจกรรม
2. ประเมินผลการ ปฏิบัติงาน
|
ความพึงพอใจ |
1. ครูโรงเรียนพรเจริญวิทยา มีขวัญและกำลังใจที่ดี มีความรัก สามัคคี
มีความสัมพันธ์อันดีต่อกัน
2. ครูโรงเรียนพรเจริญวิทยา มีผลการปฏิบัติงานดีเด่น
๓. ครูโรงเรียนพรเจริญวิทยา ได้พัฒนาตนเองด้านวิชาการ
|
ปัญหาและอุปสรรค |
- |
ข้อเสนอแนะ |
- |
รูปภาพประกอบ |
|