ชื่อโครงการ/กิจกรรม |
โครงการสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ (Professional Learning Community : PLC) |
ประเภท |
โรงเรียนมาตรฐานสากล (World-Class Standard School) |
ปีการศึกษา |
2562 |
มาตรฐาน |
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน
1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน 1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
2.1 มีเป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกิจที่สถานศึกษากำหนดขัดเจน 2.2 มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา 2.3 ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาและทุกกลุ่มเป้าหมาย 2.4 พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ 2.5 จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ 2.6 จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
3.1 จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงและสามารถนำไปประยุกต็ใช้ในชีวิตได้ 3.2 ใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ 3.3 มีการบริหารจัดการชั้นเรียบเชิงบวก 3.4 ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบและนำผลมาพัฒนาผู้เรียน 3.5 มีการแลกเปลียนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ |
ผู้รับผิดชอบ |
|
ความเป็นมา |
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่2) พุทธศักราช 2545
มาตรา 22 ระบุถึงหลักการจัดการศึกษาว่า ผู้เรียนทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ ต้องจัดการศึกษา
ที่พัฒนาผู้เรียนตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพ ซึ่งครูทุกคนมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องแสวงหาวิธีการที่จะช่วย
ให้นักเรียนทุกคนสามารถเรียนรู้ได้ตามเจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติดังกล่าว ซึ่งนวัตกรรมใหม่ที่ครูจะต้องทราบ
คือ Professional Learning Community (PLC) เป็นการรวมตัวกันทำงาน พัฒนาทักษะและ การเรียนรู้เพื่อปฏิบัติหน้าที่ครูเพื่อศิษย์บนพื้นฐานวัฒนธรรมความสัมพันธ์แบบกัลยาณมิตร มีวิสัยทัศน์ คุณค่า เป้าหมาย และภารกิจร่วมกัน โดยทำงานร่วมกันแบบทีม เรียนรู้ที่ครูเป็นผู้นำร่วมกัน ดูแลกัน สนับสนุนกันสู่การเรียนรู้และพัฒนาวิชาชีพเพื่อเปลี่ยนแปลงคุณภาพตนเองสู่คุณภาพการจัดการเรียนรู้ที่เน้นความสำเร็จหรือประสิทธิผลของผู้เรียนเป็นสำคัญทั้งนี้ก็จะก่อให้เกิดความสุขของการทำงานร่วมกันของสมาชิกในชุมชนการเรียนรู้และสนองต่อจุดเน้นนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ และนโยบายของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๒๑
กลุ่มงานบริหารงานวิชาการ ได้เห็นถึงความสำคัญดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการชุมชนแห่งการเรียนรู้ PLC (Professional Learning Community) ขึ้นเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนพรเจริญวิทยาให้ดียิ่งขึ้น
|
วัตถุประสงค์ |
๒. วัตถุประสงค์
2.1 เพื่อให้ครูได้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน
2.2 เพื่อให้ครูได้พัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญอย่างมีประสิทธิภาพ
|
เป้าหมาย |
๓. เป้าหมายโครงการ
๓.๑ เป้าหมายเชิงปริมาณ
ครูทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้
๓.๒ เป้าหมายเชิงคุณภาพ
3.1.๑ ครูมีความพึงพอใจในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน
๓.๑.๒ ครูได้นำผลการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ชุมชนทางวิชาชีพไปใช้พัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอนในห้องเรียน
|
ระยะเวลา |
2 ส.ค. 2563 - 2 ส.ค. 2563 |
สถานที่ดำเนินการ |
โรงเรียนพรเจริญวิทยา |
ตัวชี้วัด |
1. ครูร้อยละ 80 มีความพึงพอใจในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียน
การสอน
๒. ครูร้อยละ 80 ได้นำผลการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ชุมชนทางวิชาชีพไปใช้พัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอนในห้องเรียน |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ |
๑๐. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑๐.๑ ครูผู้สอนมีแนวปฏิบัติที่ดีในการแก้ไขปัญหาหรือพัฒนาการจัดการเรียนการสอนเพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ และคุณลักษณะตามเป้าหมายของหลักสูตร
1๐.2 การดำเนินการชุมชนวิชาชีพของกลุ่มสาระการเรียนรู้สามารถเป็นแบบอย่างที่ดีได้
|
สรุปคะแนนประเมิน |
0.00 |
ไฟล์ประกอบ |
|
ขั้นเตรียมการ |
กิจกรรมชุมชนแห่งการเรียนรู้ (PLC)
1. ขั้นเตรียมการ
1.1 ประชุมวางแผน
1.2 เสนอโครงการขออนุมัติ
1.3 แต่งตั้งคณะกรรมการขับเคลื่อนระบวนการ PLC
|
ขั้นดำเนินการ |
๒.ขั้นดำเนินการ
2.1 การสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกัน (Share Vision)
2.2 การเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม (Team Learning) 2.3 การจัดการเรียนรู้สู่นักเรียน (Instruction) |
ขั้นตรวจสอบประเมินผล |
-การรายงานผลการทำ กิจกรรม PLC
-การนำเสนอวิธีการ ปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ (Best Practice)
|
ขั้นสรุปและรายงาน |
-แบบรายงานผลการทำ กิจกรรม PLC
-รายงานผลงานการ ปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ (Best Practice)
|
งบประมาณ |
เงินอุดหนุนรายหัว 39,500 บาท (สามหมื่นเก้าพันห้าร้อยบาทถ้วน) |
การบรรลุตัวชี้วัด |
1. ครูร้อยละ 80 มีความพึงพอใจในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียน
การสอน
๒. ครูร้อยละ 80 ได้นำผลการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ชุมชนทางวิชาชีพไปใช้พัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอนในห้องเรียน |
ความพึงพอใจ |
1. ครูผู้สอนมีแนวปฏิบัติที่ดีในการแก้ไขปัญหาหรือพัฒนาการจัดการเรียนการสอนเพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ และคุณลักษณะตามเป้าหมายของหลักสูตร
2. การดำเนินการชุมชนวิชาชีพของกลุ่มสาระการเรียนรู้สามารถเป็นแบบอย่างที่ดีได้
|
ปัญหาและอุปสรรค |
- |
ข้อเสนอแนะ |
- |
รูปภาพประกอบ |
|