โรงเรียน : กุศลวิทยา สพม.สมุทรสาคร สมุทรสงคราม
ประเภท : โรงเรียนประชารัฐ
ผลการประเมิน : 0.00
เผยแพร่เมื่อ : 8 ส.ค. 2563 โดย : นางสาวพิชญามน เกษมคุณ จำนวนผู้เข้าชม 45 คน
ชื่อโครงการ/กิจกรรม | พัฒนาการจัดการเรียนรู้ ๘ กลุ่มสาระ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน และสมรรถนะของผู้เรียน | ||||||||||||
ประเภท | โรงเรียนประชารัฐ | ||||||||||||
ปีการศึกษา | 2562 | ||||||||||||
มาตรฐาน |
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน 1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน 1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน 3.1 จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงและสามารถนำไปประยุกต็ใช้ในชีวิตได้ 3.2 ใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ 3.3 มีการบริหารจัดการชั้นเรียบเชิงบวก |
||||||||||||
ผู้รับผิดชอบ | |||||||||||||
ความเป็นมา | จากพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ หมวด ๔ แนวการจัดการศึกษามาตรา ๒๓ การจัดการศึกษาต้องเน้นความสำคัญทั้งความรู้ คุณธรรม กระบวนการเรียนรู้และทักษะด้านต่าง ๆ หมวด ๙เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา มาตรา ๖๖ ผู้เรียนมีสิทธิได้รับการพัฒนาขีดความสามารถเพื่อการศึกษาในโอกาสแรกที่ทำได้เพื่อให้มีความรู้และทักษะเพียงพอเพื่อการศึกษาในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองได้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต และจากยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติของกระทรวงศึกษาธิการในการสร้างระบบการศึกษาที่มีคุณภาพและประสิทธิภาพด้วยการปฏิรูปการเรียนรู้และกลยุทธ์การขับเคลื่อนนโยบายของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีการส่งเสริมคุณภาพมาตรฐานให้ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาหลัก จากที่ได้กล่าวแล้วข้างต้น ในความรวมโดยสรุปต้องการให้โรงเรียนพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้สูงขึ้น อีกทั้งผลสัมฤทธิ์การทดสอบระดับชาติ (O-NET) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ และ ๖ ปีการศึกษา ๒๕๖๑ อยู่ในระดับต่ำกว่าค่าเฉลี่ย และผลสัมฤทธิ์ของโรงเรียน ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ในปีการศึกษา ๒๕๖๑ ก็อยู่ในระดับที่ควรพัฒนา ซึ่งมีผลกระทบให้ระดับคุณภาพมาตรฐานของโรงเรียนไม่บรรลุตามเป้าหมาย จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่กลุ่มงานบริหารวิชาการจะต้องหาวิธีการแก้ไขเพื่อให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนดีขึ้น วิธีที่จะแก้ปัญหาได้จำเป็นต้องมีการพัฒนาการเรียนการสอนทั้งในส่วนของครูผู้สอนและนักเรียนซึ่งคาดหวังว่าจะส่งผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนดีขึ้นในที่สุด นอกจากนี้ตามที่นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการประกาศเดินหน้านโยบายลดเวลาเรียน เพิ่มเวลาการเรียนรู้ ครูต้องร่วมมือกำหนดเนื้อหากิจกรรมที่หลากหลาย ครูร่วมมือกับผู้เรียนเน้นการปฏิบัติและฝึกเพื่อตอบโจทย์ที่เด็กไทยเรียนและท่องจำ เปลี่ยนมาเรียนและฝึกปฏิบัติให้เด็กคิดเป็นและแก้ปัญหาเป็น เพื่อให้สอดคล้องทักษะชีวิต ๕ ด้าน ได้แก่ ผู้เรียนเกิดทักษะการคิด ทักษะการสื่อสาร ทักษะการมีส่วนร่วม ทักษะการแก้ปัญหา และทักษะจิตสาธารณะ ด้วยเหตุนี้ โรงเรียนกุศลวิทยาจึงได้ดำเนินการจัดโครงการพัฒนาการเรียนการสอน ๘ กลุ่มสาระและสมรรถนะของผู้เรียนเพื่อให้ผู้เรียนได้ฝึกฝน ปฏิบัติและเรียนรู้ พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและทักษะต่าง ๆ ที่จะอยู่ร่วมกับสังคมได้อย่างมีความสุข จากพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ หมวด ๔ แนวการจัดการศึกษามาตรา ๒๓ การจัดการศึกษาต้องเน้นความสำคัญทั้งความรู้ คุณธรรม กระบวนการเรียนรู้และทักษะด้านต่าง ๆ หมวด ๙เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา มาตรา ๖๖ ผู้เรียนมีสิทธิได้รับการพัฒนาขีดความสามารถเพื่อการศึกษาในโอกาสแรกที่ทำได้เพื่อให้มีความรู้และทักษะเพียงพอเพื่อการศึกษาในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองได้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต และจากยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติของกระทรวงศึกษาธิการในการสร้างระบบการศึกษาที่มีคุณภาพและประสิทธิภาพด้วยการปฏิรูปการเรียนรู้และกลยุทธ์การขับเคลื่อนนโยบายของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีการส่งเสริมคุณภาพมาตรฐานให้ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาหลัก จากที่ได้กล่าวแล้วข้างต้น ในความรวมโดยสรุปต้องการให้โรงเรียนพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้สูงขึ้น อีกทั้งผลสัมฤทธิ์การทดสอบระดับชาติ (O-NET) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ และ ๖ ปีการศึกษา ๒๕๖๑ อยู่ในระดับต่ำกว่าค่าเฉลี่ย และผลสัมฤทธิ์ของโรงเรียน ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ในปีการศึกษา ๒๕๖๑ ก็อยู่ในระดับที่ควรพัฒนา ซึ่งมีผลกระทบให้ระดับคุณภาพมาตรฐานของโรงเรียนไม่บรรลุตามเป้าหมาย จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่กลุ่มงานบริหารวิชาการจะต้องหาวิธีการแก้ไขเพื่อให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนดีขึ้น วิธีที่จะแก้ปัญหาได้จำเป็นต้องมีการพัฒนาการเรียนการสอนทั้งในส่วนของครูผู้สอนและนักเรียนซึ่งคาดหวังว่าจะส่งผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนดีขึ้นในที่สุด นอกจากนี้ตามที่นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการประกาศเดินหน้านโยบายลดเวลาเรียน เพิ่มเวลาการเรียนรู้ ครูต้องร่วมมือกำหนดเนื้อหากิจกรรมที่หลากหลาย ครูร่วมมือกับผู้เรียนเน้นการปฏิบัติและฝึกเพื่อตอบโจทย์ที่เด็กไทยเรียนและท่องจำ เปลี่ยนมาเรียนและฝึกปฏิบัติให้เด็กคิดเป็นและแก้ปัญหาเป็น เพื่อให้สอดคล้องทักษะชีวิต ๕ ด้าน ได้แก่ ผู้เรียนเกิดทักษะการคิด ทักษะการสื่อสาร ทักษะการมีส่วนร่วม ทักษะการแก้ปัญหา และทักษะจิตสาธารณะ ด้วยเหตุนี้ โรงเรียนกุศลวิทยาจึงได้ดำเนินการจัดโครงการพัฒนาการเรียนการสอน ๘ กลุ่มสาระและสมรรถนะของผู้เรียนเพื่อให้ผู้เรียนได้ฝึกฝน ปฏิบัติและเรียนรู้ พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและทักษะต่าง ๆ ที่จะอยู่ร่วมกับสังคมได้อย่างมีความสุข |
||||||||||||
วัตถุประสงค์ | ๑. เพื่อลดจำนวนนักเรียนที่มีผลการสอบไม่ผ่านในทุกรายวิชา (๐, ร, มส) ๒. เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนมีผลการเรียนเฉลี่ย (GPA) ผลการทดสอบระดับชาติ (O-NET) และทักษะการอ่านตามแนว PISA ให้สูงขึ้น ๓. เพื่อให้นักเรียนได้เกิดทักษะการเรียนรู้ครบ ๔H เกิดกระบวนการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง ๔. เพื่อเปิดโอกาสในการเรียนรู้ของผู้เรียนที่มีความแตกต่างกันและเปิดโอกาสให้นักเรียนที่มีความสามารถได้ร่วมการแข่งขันทั้งในและนอกสถานศึกษา |
||||||||||||
เป้าหมาย | เชิงปริมาณ ๑. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ – ๖ จำนวน ๘๘ คน เข้าร่วมกิจกรรม ๒. นักเรียน ม.๓ และ ม.๖ ได้คะแนน O - NET มีค่าเฉลี่ยสูงกว่าค่าเฉลี่ยระดับประเทศ ร้อยละ ๓๐ ขึ้นไป เชิงคุณภาพ ๑. นักเรียนได้รับการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน มีความรู้ความสามารถและมีพัฒนาการทางด้านวิชาการ ส่งผลให้มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น มีคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานการศึกษาและมีความรู้ความสามารถในการเรียนต่อ ๒. นักเรียนเกิดทักษะครอบคลุม 4H และผู้เรียนมีความสุขจากการเรียนรู้ |
||||||||||||
ระยะเวลา | 16 พ.ค. 2562 - 15 พ.ค. 2563 | ||||||||||||
สถานที่ดำเนินการ | โรงเรียนกุศลวิทยา | ||||||||||||
ตัวชี้วัด |
|
||||||||||||
ผลที่คาดว่าจะได้รับ | ๑. จำนวนนักเรียนที่มีผลการสอบไม่ผ่านในทุกรายวิชา (๐, ร, มส) ลดลงจากปีที่ผ่านมา ๒. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนมีผลการเรียนเฉลี่ย (GPA) ผลการทดสอบระดับชาติ (O-NET) และทักษะการอ่านตามแนว PISA มีค่าเฉลี่ยที่สูงขึ้น ๓. นักเรียนเกิดทักษะการเรียนรู้ครบ ๔H เกิดกระบวนการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง |
||||||||||||
สรุปคะแนนประเมิน | 0.00 | ||||||||||||
ไฟล์ประกอบ |
โครงการพัฒนาการเรียนการสอน8กลุ่มสาระและสมรรถนะของผู้เรียน.docx |
||||||||||||
ขั้นเตรียมการ | |||||||||||||
ขั้นดำเนินการ | |||||||||||||
ขั้นตรวจสอบประเมินผล | |||||||||||||
ขั้นสรุปและรายงาน | |||||||||||||
งบประมาณ | |||||||||||||
การบรรลุตัวชี้วัด | |||||||||||||
ความพึงพอใจ | |||||||||||||
ปัญหาและอุปสรรค | |||||||||||||
ข้อเสนอแนะ | |||||||||||||
รูปภาพประกอบ |