ชื่อโครงการ/กิจกรรม |
ขับเคลื่อนนโยบายการจัดการศึกษาเพื่อรองรับระเบียง เศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก(Eastern Economic Corridor : EEC) |
ประเภท |
โรงเรียนในฝัน (Lab School) |
ปีการศึกษา |
2563 |
มาตรฐาน |
2.3 ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาและทุกกลุ่มเป้าหมาย 2.4 พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ 2.5 จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ
|
ผู้รับผิดชอบ |
|
ความเป็นมา |
เนื่องด้วยวันที่ 28 มิถุนายน 2559 คณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบหลักการโครงการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออกเพื่อสนับสนุนการยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศส่งเสริมการขยายตัวทางเศรษฐกิจเพิ่มการจ้างงานยกระดับคุณภาพชีวิตและรายได้ของประชาชนกระทรวงศึกษาธิการได้ร่างแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2560-2579 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบและกระบวนการจัดการศึกษาที่มีคุณภาพและมีประสิทธิภาพ เพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นพลเมืองดี มีคุณลักษณะ ทักษะ และสมรรถนะโดยมีพื้นที่เป้าหมายทั้งหมด 3 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดชลบุรีระยองและฉะเชิงเทรา
เพื่อพัฒนาสถานศึกษาในการรองรับเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (Eastern Economic Corridor : EEC) ด้านภาษา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และ 10 อุตสาหกรรม โรงเรียนแสนสุขจึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นมาเพื่อสนองนโยบายและขับเคลื่อนตามโครงการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก(Eastern Economic Corridor : EEC) |
วัตถุประสงค์ |
๑ เพื่อสนองนโยบายและขับเคลื่อนตามโครงการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก
2 เพื่อพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ บูรณาการเทคโนโลยีกับ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับนโยบายในโครงการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก
3 เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความสามารถตามคุณลักษณะ ด้านการทำงาน ภาษา เทคโนโลยี และการสร้างนวัตกรรม
4. เพื่อพัฒนาครูให้มีศักยภาพด้านภาษา วิทยาศาสตร์ (ปัญญาประดิษฐ์ : Artificial Intelligence : AI) ด้านวิทยาศาสตร์และ 10 อุตสาหกรรม
5 เพื่อพัฒนาสถานศึกษาให้เป็นศูนย์การเรียนรู้ตามนโยบายและขับเคลื่อนตามโครงการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก
|
เป้าหมาย |
เชิงปริมาณ
1 ร้อยละ 80 โรงเรียนได้ตอบสนองนโยบายและขับเคลื่อนตามโครงการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก
2 ร้อยละ 80 มีการพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ บูรณาการเทคโนโลยีกับ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับนโยบายในโครงการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก
3 ร้อยละ 80 นักเรียนมีความรู้ ความสามารถตามคุณลักษณะ ด้านการทำงาน ภาษา เทคโนโลยี
4 ร้อยละ 80 ครูมีศักยภาพด้านภาษา วิทยาศาสตร์ (ปัญญาประดิษฐ์ : Artificial Intelligence : AI) ด้านวิทยาศาสตร์และ 10 อุตสาหกรรม
5 ร้อยละ 50 สถานศึกษาเป็นศูนย์การเรียนรู้ตามนโยบายและขับเคลื่อนตามโครงการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก
เชิงคุณภาพ
1 ผู้เกี่ยวข้องมีความพึงพอใจที่สถานศึกษาเป็นศูนย์การเรียนรู้ตามนโยบายและขับเคลื่อนตามโครงการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก
|
ระยะเวลา |
31 มี.ค. 2563 - 31 มี.ค. 2563 |
สถานที่ดำเนินการ |
โรงเรียนแสนสุข |
ตัวชี้วัด |
เชิงคุณภาพ
1 ผู้เกี่ยวข้องมีความพึงพอใจที่สถานศึกษาเป็นศูนย์การเรียนรู้ตามนโยบายและขับเคลื่อนตามโครงการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ |
1 โรงเรียนสนองนโยบายและขับเคลื่อนตามโครงการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก
2 โรงเรียนพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ บูรณาการเทคโนโลยีกับ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับนโยบายในโครงการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก
3 นักเรียนมีความรู้ ความสามารถตามคุณลักษณะ ด้านการทำงาน ภาษา เทคโนโลยี และการสร้างนวัตกรรม
4 ครูมีศักยภาพด้านภาษา วิทยาศาสตร์ (ปัญญาประดิษฐ์ : Artificial Intelligence : AI) ด้านวิทยาศาสตร์และ 10 อุตสาหกรรม
5 สถานศึกษาเป็นศูนย์การเรียนรู้ตามนโยบายและขับเคลื่อนตามโครงการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก
|
สรุปคะแนนประเมิน |
0.00 |
ไฟล์ประกอบ |
|
ขั้นเตรียมการ |
|
ขั้นดำเนินการ |
|
ขั้นตรวจสอบประเมินผล |
|
ขั้นสรุปและรายงาน |
|
งบประมาณ |
|
การบรรลุตัวชี้วัด |
|
ความพึงพอใจ |
|
ปัญหาและอุปสรรค |
|
ข้อเสนอแนะ |
|
รูปภาพประกอบ |
|