ชื่อโครงการ/กิจกรรม |
ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย |
ประเภท |
โรงเรียนในฝัน (Lab School) |
ปีการศึกษา |
2563 |
มาตรฐาน |
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน
1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน
|
ผู้รับผิดชอบ |
|
ความเป็นมา |
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 และ (ฉบับที่ 3)
พ.ศ. 2553 ได้กำหนดมาตรฐานการศึกษา และจัดให้มีระบบประกันคุณภาพการศึกษาทุกระดับและประเภทการศึกษา เพื่อพัฒนาและส่งเสริมผู้เรียนให้มีความรู้และทักษะจำเป็นตามหลักสูตร ซึ่งการจัดการเรียนการสอนให้บรรลุจุดมุ่งหมายของหลักสูตรพร้อมทั้งสอดรับกับมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานและมาตรฐานสากล ต้องอาศัยปัจจัยหลายอย่างประการ ทั้งบุคลากร งบประมาณ ระบบการบริหาร การจัดกิจกรรมทั้งในและนอกหลักสูตรที่หลากหลาย รวมถึงการประสานงานของกลุ่มงาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ และฝ่ายต่าง ๆ รวมถึงการจัดหา การผลิตสื่อ และนวัตกรรมการเรียนการสอน ตลอดจนการใช้เครื่องมือการวัดประเมินผลที่มีประสิทธิภาพประกอบกัน
จากการประเมินคุณภาพภายในที่ผ่านมาพบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยอยู่ในระดับ ค่อนข้างดี (ผลการเรียนเฉลี่ย 2.77) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยเล็งเห็นถึงความสำคัญของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนซึ่งสะท้อนคุณภาพการจัดการศึกษา จึงนำมาสู่การจัดให้มีโครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยขึ้นเพื่อแก้ไขปัญหาและเพิ่มขีดความสามารถในการจัดการเรียนรู้ของกลุ่มสาระภาษาไทยให้ดียิ่งขึ้น
|
วัตถุประสงค์ |
1 เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยให้สูงขึ้น
2 เพื่อยกระดับผลการประเมินสมรรถนะรายวิชาภาษาไทยตามหลักสูตรให้ผ่านตามเกณฑ์
3 เพื่อยกระดับผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยให้ผ่านตามเกณฑ์
4 เพื่อยกระดับผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในรายวิชาภาษาไทยเพิ่มขึ้น
5 เพื่อยกระดับผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ในรายวิชาภาษาไทยเพิ่มขึ้น
|
เป้าหมาย |
เชิงปริมาณ
1 นักเรียนร้อยละ 80 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของกลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาภาษาไทยสูงขึ้น
2 นักเรียนร้อยละ 80 มีผลการประเมินสมรรถนะรายวิชาภาษาไทยตามหลักสูตร ผ่าน ตามเกณฑ์ที่กำหนด
3 นักเรียนร้อยละ 80 มีผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ระดับคุณภาพ ผ่าน หรือสูงกว่า
.4 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในรายวิชาภาษาไทยระดับโรงเรียนสูงกว่าระดับประเทศเพิ่มขึ้น
5 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ในรายวิชาภาษาไทยระดับโรงเรียนสูงกว่าระดับประเทศเพิ่มขึ้น
เชิงคุณภาพ
1 นักเรียนมีความพึงพอใจในการดำเนินงานของกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
|
ระยะเวลา |
31 มี.ค. 2563 - 1 เม.ย. 2563 |
สถานที่ดำเนินการ |
โรงเรียนแสนสุข |
ตัวชี้วัด |
เชิงคุณภาพ
1 นักเรียนมีความพึงพอใจในการดำเนินงานของกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ |
1 นักเรียนมีระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยให้สูงขึ้น
2 ผลการประเมินสมรรถนะรายวิชาภาษาไทยตามหลักสูตรผ่านตามเกณฑ์
3 นักเรียนมีระดับผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยผ่าน
ตามเกณฑ์
4 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในรายวิชาภาษาไทยเพิ่มขึ้น
5 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ในรายวิชาภาษาไทยเพิ่มขึ้น
|
สรุปคะแนนประเมิน |
0.00 |
ไฟล์ประกอบ |
|
ขั้นเตรียมการ |
|
ขั้นดำเนินการ |
|
ขั้นตรวจสอบประเมินผล |
|
ขั้นสรุปและรายงาน |
|
งบประมาณ |
|
การบรรลุตัวชี้วัด |
|
ความพึงพอใจ |
|
ปัญหาและอุปสรรค |
|
ข้อเสนอแนะ |
|
รูปภาพประกอบ |
|