โรงเรียน : พิษณุโลกพิทยาคม สพม.พิษณุโลก อุตรดิตถ์
ประเภท : โรงเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ (Enrichment Science Classroom : ESC)
ผลการประเมิน : 0.00
เผยแพร่เมื่อ : 3 มี.ค. 2564 โดย : กิ่งแก้ว บรรลุผลสกุล จำนวนผู้เข้าชม 68 คน
ชื่อโครงการ/กิจกรรม | โครงการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพของนักเรียนในโครงการห้องเรียน พสวท. (สู่ความเป็นเลิศ) | |||||||||||||||
ประเภท | โรงเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ (Enrichment Science Classroom : ESC) | |||||||||||||||
ปีการศึกษา | 2563 | |||||||||||||||
มาตรฐาน |
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน 1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน 1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ 2.1 มีเป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกิจที่สถานศึกษากำหนดขัดเจน 2.2 มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา 2.3 ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาและทุกกลุ่มเป้าหมาย 2.4 พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 3.1 จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงและสามารถนำไปประยุกต็ใช้ในชีวิตได้ 3.2 ใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ 3.3 มีการบริหารจัดการชั้นเรียบเชิงบวก |
|||||||||||||||
ผู้รับผิดชอบ | ||||||||||||||||
ความเป็นมา | วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้เข้ามามีบทบาทในการพัฒนาประเทศในด้านต่าง ๆ อย่างกว้างขวางและยิ่งนับวันจะมีความสำคัญมากยิ่งขึ้น ประเทศที่พัฒนาแล้วและมีเศรษฐกิจ ที่มั่นคงมักจะเป็นประเทศที่มีความเจริญก้าวหน้าทาง ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสูง จึงกล่าวได้ว่าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเป็นพื้นฐานสำคัญในการพัฒนาประเทศเมื่อพิจารณาถึงสภาพการผลิตนักวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในประเทศไทย พบว่าผู้มีความรู้ ความสามารถสูงเป็นพิเศษทางวิทยาศาสตร์มีแนวโน้มที่จะเลือกเข้าศึกษาต่อในคณะวิทยาศาสตร์น้อยลงทุกปี ส่วนใหญ่จะเลือกศึกษาในสาขาที่ให้ผลตอบแทนเป็นรายได้ที่ ค่อนข้างสูง เช่น แพทยศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ สภาพเช่นนี้เนื่องจากสาเหตุหลายประการ ได้แก่ สถานภาพทางด้านสังคม อาชีพ รายได้บรรยากาศในการทำงานไม่เอื้อหรือจูงใจให้ผู้มีความสามารถสูงหันมาประกอบอาชีพเป็นนักวิทยาศาสตร์ จึงทำให้ปัญหาที่น่าวิตกอย่างยิ่งคือ ในอนาคตอันใกล้ ประเทศไทยจะขาดผู้มีความสามารถสูงในวงการวิทยาศาสตร์ทั้งในมหาวิทยาลัย สถาบันวิจัย หน่วยงานอื่น ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน รัฐบาลจึงมีมติให้กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม ทบวงมหาวิทยาลัย กระทรวงศึกษาธิการ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ร่วมมือกันจัดตั้งโครงการ พสวท. ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2527 เป็นต้นมา และในปี พ.ศ. 2562 ได้มีโครงการห้องเรียน พสวท. (สู่ความเป็นเลิศ) เป็นปีแรก ซึ่งมีการปรับเปลี่ยนสิทธิประโยชน์ที่นักเรียนพึงจะได้รับแตกต่างจากนักเรียนทุน พสวท. แต่ยังคงเน้นให้นักเรียนมีความรู้ความสามารถและ มีทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และเทคโนโลยี ดังนั้น ศูนย์โรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคมตระหนักถึงความสำคัญดังกล่าวข้างต้น จึงจัดทำโครงการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพของนักเรียนในโครงการห้องเรียน พสวท. (สู่ความเป็นเลิศ) ขึ้น |
|||||||||||||||
วัตถุประสงค์ | 2.1 เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความสามารถและมีทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี 2.2 เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความสามารถและมีทักษะภาษาอังกฤษทางด้านไวยากรณ์และด้านการสื่อสาร |
|||||||||||||||
เป้าหมาย | ก. คุณภาพของผู้เรียน มาตรฐานที่ 1 ตัวบ่งชี้ 1.1 – 1.2 ข. กระบวนการบริหารและการจัดการของผู้บริหารสถานศึกษา มาตรฐานที่ 2 ตัวบ่งชี้ 2.1 – 2.4 ค. กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ มาตรฐานที่ 3 ตัวบ่งชี้ 3.1 – 3.3 3.1 เป้าหมายด้านปริมาณ (Outputs) 3.1.1 นักเรียนในโครงการห้องเรียน พสวท. (สู่ความเป็นเลิศ)จำนวน 39 คน ได้รับการส่งเสริมและ พัฒนาศักยภาพทางด้านวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี และภาษาอังกฤษ 3.2 เป้าหมายด้านคุณภาพ (Outcomes) 3.2.1 นักเรียนในโครงการห้องเรียน พสวท. (สู่ความเป็นเลิศ) ทุกคนมีความรู้ความสามารถและ มีทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี และภาษาอังกฤษ |
|||||||||||||||
ระยะเวลา | 1 ธ.ค. 2564 - 31 มี.ค. 2565 | |||||||||||||||
สถานที่ดำเนินการ | โรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม | |||||||||||||||
ตัวชี้วัด |
|
|||||||||||||||
ผลที่คาดว่าจะได้รับ | นักเรียนในโครงการห้องเรียน พสวท. (สู่ความเป็นเลิศ) ทุกคนมีความรู้ความสามารถและมีทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และเทคโนโลยี |
|||||||||||||||
สรุปคะแนนประเมิน | 0.00 | |||||||||||||||
ไฟล์ประกอบ |
โครงการ |
|||||||||||||||
ขั้นเตรียมการ |
ข. กระบวนการบริหารและการจัดการของผู้บริหารสถานศึกษา มาตรฐานที่ 2 ตัวบ่งชี้ 2.1 – 2.4 ค. กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ มาตรฐานที่ 3 ตัวบ่งชี้ 3.1 – 3.3 3.1 เป้าหมายด้านปริมาณ (Outputs) 3.1.1 นักเรียนในโครงการห้องเรียน พสวท. (สู่ความเป็นเลิศ)จำนวน 39 คน ได้รับการส่งเสริมและ พัฒนาศักยภาพทางด้านวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี และภาษาอังกฤษ 3.2 เป้าหมายด้านคุณภาพ (Outcomes) 3.2.1 นักเรียนในโครงการห้องเรียน พสวท. (สู่ความเป็นเลิศ) ทุกคนมีความรู้ความสามารถและ มีทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี และภาษาอังกฤษ |
|||||||||||||||
ขั้นดำเนินการ | 4.1 ประชุมวางแผนการดำเนินงานเพื่อจัดทำกิจกรรม/โครงการ 4.2 ดำเนินการตามกิจกรรม/โครงการที่กำหนดวางแผน 4.3 ตรวจสอบและประเมินผลขั้นตอนการดำเนินกิจกรรม/โครงการต่างๆ 4.4 วิเคราะห์และสรุปผลการดำเนินกิจกรรม/โครงการเพื่อวางแผนพัฒนาในครั้งต่อไป 4.5 รายงานผลการดำเนินโครงการต่อฝ่ายบริหาร |
|||||||||||||||
ขั้นตรวจสอบประเมินผล |
|
|||||||||||||||
ขั้นสรุปและรายงาน | ||||||||||||||||
งบประมาณ | ||||||||||||||||
การบรรลุตัวชี้วัด | ||||||||||||||||
ความพึงพอใจ | ||||||||||||||||
ปัญหาและอุปสรรค | ||||||||||||||||
ข้อเสนอแนะ | ||||||||||||||||
รูปภาพประกอบ |