โลโก้เว็บไซต์ สารสนเทศสำนักบริหารมัธยมศึกษาตอนปลาย
  PDF

เสริมสร้างศักยภาพนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี ระดับ ม.ปลาย

โรงเรียน : พิษณุโลกพิทยาคม สพม.พิษณุโลก อุตรดิตถ์

ประเภท : โรงเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ (Enrichment Science Classroom : ESC)

ผลการประเมิน : 0.00

เผยแพร่เมื่อ : 3 มี.ค. 2564 โดย : กิ่งแก้ว บรรลุผลสกุล จำนวนผู้เข้าชม 54 คน


ชื่อโครงการ/กิจกรรม เสริมสร้างศักยภาพนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี ระดับ ม.ปลาย
ประเภท โรงเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ (Enrichment Science Classroom : ESC)
ปีการศึกษา 2563
มาตรฐาน มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน
     1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน
     1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน


     3.2 ใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้
     3.3 มีการบริหารจัดการชั้นเรียบเชิงบวก
     3.4 ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบและนำผลมาพัฒนาผู้เรียน
ผู้รับผิดชอบ
ความเป็นมา การเปิดโครงการห้องเรียนพิเศษของโรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคมเป็นไปตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 มาตราที่ 10 ที่กำหนดว่า “การจัดการศึกษาสำหรับบุคคลที่มีความพิเศษต้องจัดด้วยรูปแบบที่เหมาะสมโดยคำนึงถึงความสามารถของบุคคลนั้น” โครงการห้องเรียนพิเศษเพื่อส่งเสริมศักยภาพผู้เรียนด้านคณิตศาสตร์วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษและเทคโนโลยี จึงเป็นแนวทางหนึ่งที่จะยกระดับความสามารถของเด็กไทยก้าวไกลในประชาคม อาเซียนและสามารถแข่งขันกับนานาประเทศได้
ด้วยเหตุผลดังกล่าว โครงการห้องเรียนพิเศษของโรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม จึงจัดให้มีโครงการส่งเสริมศักยภาพนักเรียนห้องเรียนพิเศษทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีให้มีความรู้ความสามารถตามศักยภาพ เพื่อผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนให้บรรลุมาตรฐานในระดับที่สูงขึ้น
 
วัตถุประสงค์ 2.1 เพื่อให้นักเรียนสามารถทำข้อสอบในสนามสอบต่าง ๆ ได้
  1. เพื่อให้นักเรียนนำความรู้ที่ได้รับมาแข่งขันในรายการต่างๆ
  2. เพื่อเสริมทักษะด้านปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์ เพิ่มเติมมากขึ้นจากการเรียนปกติ
เป้าหมาย
  1. เป้าหมาย( มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน/โรงเรียน)
ก. ด้านคุณภาพผู้เรียน                              มาตรฐานที่ 1.1                     ตัวบ่งชี้ 2 , 4, 6,7
ข. ด้านการจัดการศึกษา                            มาตรฐานที่ 3.1                      ตัวบ่งชี้ 2,3,4    
ค. ด้านการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้              มาตรฐานที่ 13                       ตัวบ่งชี้ 7
ง. ด้านอัตลักษณ์ของสถานศึกษา                   มาตรฐานที่ 14                       ตัวบ่งชี้ 9-10
จ. ด้านมาตรการส่งเสริม                            มาตรฐานที่    15                   ตัวบ่งชี้  11-12
3.1 เป้าหมายด้านปริมาณ (Outputs)
  •         3.1.1 นักเรียนโครงการห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ ระดับชั้นม.4 - ม.6 จำนวน 189 คน
    3.1.2 ตัวแทนนักเรียนเข้าร่วมการแข่งขันต่างๆ จำนวน 60 ทีม
    3.1.3 นักเรียนร้อยละ 80 ขั้นไป สามารถสอบติดในระดับมหาวิทยาลัยต่าง ๆ ได้
3.2 เป้าหมายด้านคุณภาพ (Outcomes)
    3.2.1 นักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรม ร้อยละ 80  มีความรู้ในเนื้อหาวิชาวิทยาศาสตร์ และมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์อยู่ในระดับดีขึ้นไป
    3.2.2 นักเรียนที่เข้าร่วมการแข่งขันต่างๆ ร้อยละ 80  ได้รับรางวัลจากการแข่งขันอยู่ในระดับดีขึ้นไป
    3.2.3 นักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรม ร้อยละ 80  มีทักษะการปฏิบัติทางวิทยาศาสตร์อยู่ในระดับดีขึ้นไป
 
 
ระยะเวลา 3 มี.ค. 2564 - 3 มี.ค. 2564
สถานที่ดำเนินการ
ตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดความสำเร็จ วิธีการประเมิน เครื่องมือที่ใช้
1.   ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ -  ทดสอบกลางภาคและปลายภาคเรียน
-  จากการตอบแบบสอบถาม
-  แบบทดสอบกลางภาคเรียน
-  แบบทดสอบปลายภาคเรียน
2. จำนวนนักเรียนที่ได้รับรางวัลจากการแข่งขัน - จากการตอบแบบสอบถาม และหลักฐานร่องรอย -  แบบสอบถาม
3. การมีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ - สังเกตพฤติกรรม
-การทำใบงาน
- แบบสังเกตพฤติกรรม
- ใบงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ 11.1 นักเรียนได้รับความรู้ในรายวิชาวิทยาศาสตร์ เพิ่มเติมมากขึ้น
 11.2 นักเรียนมีทักษะปฏิบัติการทางวิยาศาสตร์  มากยิ่งขึ้น
สรุปคะแนนประเมิน 0.00
ไฟล์ประกอบ
ขั้นเตรียมการ
ขั้นดำเนินการ
ขั้นตรวจสอบประเมินผล
ขั้นสรุปและรายงาน
งบประมาณ
การบรรลุตัวชี้วัด
ความพึงพอใจ
ปัญหาและอุปสรรค
ข้อเสนอแนะ
รูปภาพประกอบ

ออกแบบและพัฒนาโดย สารสนเทศสำนักบริหารการมัธยมศึกษา SESA 2.0