โลโก้เว็บไซต์ สารสนเทศสำนักบริหารมัธยมศึกษาตอนปลาย
  PDF

โครงการสอนปรับพื้นฐานนักเรียนมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 1 และมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 4

โรงเรียน : สมอทองปทีปพลีผลอุปถัมภ์ สพม.อุทัยธานี ชัยนาท

ประเภท : โรงเรียนเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาลในสถานศึกษา(โรงเรียนสุจริต)

ผลการประเมิน : 0.00

เผยแพร่เมื่อ : 21 เม.ย. 2564 โดย : สุนิสา กมลมาลย์ จำนวนผู้เข้าชม 31 คน


ชื่อโครงการ/กิจกรรม โครงการสอนปรับพื้นฐานนักเรียนมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 1 และมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 4
ประเภท โรงเรียนเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาลในสถานศึกษา(โรงเรียนสุจริต)
ปีการศึกษา 2563
มาตรฐาน มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน


ผู้รับผิดชอบ
ความเป็นมา เพื่อเป็นทางเลือกให้กับนักเรียนได้เตรียมความพร้อม เพื่อปรับความรู้พื้นฐานของนักเรียนก่อนเปิดภาคเรียนที่ 1 ในปีการศึกษา 2563 ด้วยรูปแบบที่มุ่งเน้นให้นักเรียนใช้ทักษะทางภาษาทั้งภาษาไทย ภาษาอังกฤษ เพื่อรองรับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน  ซึ่งรวมถึงทักษะทางคณิตศาสตร์  ที่สามารถนำไปปรับประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน  จากหลักการและเหตุผลดังกล่าว  จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น
วัตถุประสงค์ 1. ผู้เรียนที่มีความสามารถในการอ่าน เขียน การสื่อสาร และการคิดคำนวณตามเกณฑ์ของแต่ละระดับชั้น
2. ผู้เรียนที่มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแก้ปัญหา
3. ผู้เรียนที่มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
4. ผู้เรียนที่มีความก้าวหน้าทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา
5. ผู้เรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและพัฒนาการจากผลการสอบวัดระดับชาติ
6. ผู้เรียนที่มีความพร้อมในการศึกษาต่อ การฝึกงานหรือการทำงาน
เป้าหมาย ด้านปริมาณ
1. นักเรียนร้อยละ 70 มีความสามารถการสื่อสาร การนำเสนอผลงาน ได้ตามเกณฑ์ของสถานศึกษา
2. นักเรียนร้อยละ 72 ผ่านการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ อยู่ในระดับดี
3. นักเรียนร้อยละ 70 มีความรู้และทักษะพื้นฐานในการสร้างนวัตกรรม ในระดับดี ตามเกณฑ์การประเมินของสถานศึกษา
4. นักเรียนร้อยละ 72 มีความสามารถในการสืบค้นข้อมูลจากอินเตอร์เน็ต และสรุปความรู้ได้ด้วยตนเองและอ้างอิงแหล่งข้อมูลที่ได้จากการสืบค้นทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
ด้านคุณภาพ  
1. นักเรียนมีทักษะด้าน Digital Literacy ในการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ
2. นักเรียนอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุขบนความแตกต่างทางวัฒนธรรม/ความคิดเห็นที่แตกต่าง
3. ครูของทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ จัดการเรียนรู้เน้นกระบวนการคิด และให้ผู้เรียนฝึกปฏิบัติจริง ตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดของหลักสูตรสถานศึกษา และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้    
4. ครูของทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ ใช้สื่อการเรียนรู้ที่หลากหลาย
5. ครูมีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก มีปฏิสัมพันธ์เชิงบวก ส่งผลให้นักเรียนรักการเรียนรู้
 
ระยะเวลา 1 ก.ค. 2563 - 9 มี.ค. 2564
สถานที่ดำเนินการ โรงเรียนสมอทองปทีปพลีผลอุปถัมภ์
ตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดความสำเร็จ เกณฑ์ เครื่องมือ
1. นักเรียนมีความสามารถการสื่อสาร การนำเสนอผลงาน ได้ตามเกณฑ์ของสถานศึกษา นักเรียนร้อยละ 70 มีความสามารถการสื่อสาร การนำเสนอผลงาน ได้ตามเกณฑ์ของสถานศึกษา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามกลุ่มสาระการเรียนรู้
2. นักเรียนผ่านการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ อยู่ในระดับดี นักเรียนร้อยละ 72 ผ่านการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ อยู่ในระดับดี
 
- ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
- การสังเกต
3. นักเรียนมีความรู้และทักษะพื้นฐานในการสร้างนวัตกรรม ในระดับดี ตามเกณฑ์การประเมินของสถานศึกษา นักเรียนร้อยละ 70 มีความรู้และทักษะพื้นฐานในการสร้างนวัตกรรม ในระดับดี ตามเกณฑ์การประเมินของสถานศึกษา - แบบสังเกต
- ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามกลุ่มสาระการเรียนรู้
4. นักเรียนมีความสามารถในการสืบค้นข้อมูลจากอินเตอร์เน็ต และสรุปความรู้ได้ด้วยตนเองและอ้างอิงแหล่งข้อมูลที่ได้จากการสืบค้นทางเทคโนโลยีสารสนเทศ               นักเรียนร้อยละ 72 มีความสามารถในการสืบค้นข้อมูลจากอินเตอร์เน็ต และสรุปความรู้ได้ด้วยตนเองและอ้างอิงแหล่งข้อมูลที่ได้จากการสืบค้นทางเทคโนโลยีสารสนเทศ     - ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคอมพิวเตอร์
- สังเกตจากสภาพจริง
5. นักเรียนมีทักษะด้าน Digital Literacy ในการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ    นักเรียนร้อยละ 70 มีทักษะด้าน Digital Literacy ในการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ    - ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคอมพิวเตอร์
- สังเกตจากสภาพจริง
6. นักเรียนอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุขบนความแตกต่างทางวัฒนธรรม/ความคิดเห็นที่แตกต่าง
 
นักเรียนร้อยละ 70 อยู่ร่วมกันอย่างมีความสุขบนความแตกต่างทางวัฒนธรรม/ความคิดเห็นที่แตกต่าง

 
- การสังเกตจากสภาพจริง
7. ครูของทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ จัดการเรียนรู้เน้นกระบวนการคิด และให้ผู้เรียนฝึกปฏิบัติจริง ตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดของหลักสูตรสถานศึกษา และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้        ครูร้อยละ 72 ของทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ จัดการเรียนรู้เน้นกระบวนการคิด และให้ผู้เรียนฝึกปฏิบัติจริง ตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดของหลักสูตรสถานศึกษา และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้        การสังเกตจากสภาพจริง
8. ครูของทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ ใช้สื่อการเรียนรู้ที่หลากหลาย ครูร้อยละ 82 ของทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ ใช้สื่อการเรียนรู้ที่หลากหลาย - การสังเกต
- การนิเทศการสอน
9. ครูมีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก มีปฏิสัมพันธ์เชิงบวก ส่งผลให้นักเรียนรักการเรียนรู้ ครูร้อยละ 70 มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก มีปฏิสัมพันธ์เชิงบวก ส่งผลให้นักเรียนรักการเรียนรู้ - การสังเกต
- การนิเทศการสอน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. นักเรียนร้อยละ 70 มีความสามารถการสื่อสาร การนำเสนอผลงาน ได้ตามเกณฑ์ของสถานศึกษา
2. นักเรียนร้อยละ 72 ผ่านการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ อยู่ในระดับดี
3. นักเรียนร้อยละ 70 มีความรู้และทักษะพื้นฐานในการสร้างนวัตกรรม ในระดับดี ตามเกณฑ์การประเมินของสถานศึกษา                                                                             
4.  นักเรียนร้อยละ 72 มีความสามารถในการสืบค้นข้อมูลจากอินเตอร์เน็ต และสรุปความรู้ได้ด้วยตนเองและอ้างอิงแหล่งข้อมูลที่ได้จากการสืบค้นทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
5. นักเรียนร้อยละ 70 มีทักษะด้าน Digital Literacy ในการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ         
6. นักเรียนร้อยละ 70 อยู่ร่วมกันอย่างมีความสุขบนความแตกต่างทางวัฒนธรรม/ความคิดเห็นที่แตกต่าง
7. ครูร้อยละ 72 ของทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ จัดการเรียนรู้เน้นกระบวนการคิด และให้ผู้เรียนฝึกปฏิบัติจริง ตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดของหลักสูตรสถานศึกษา และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้       
8. ครูร้อยละ 82 ของทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ ใช้สื่อการเรียนรู้ที่หลากหลาย
9. ครูร้อยละ 70 มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก มีปฏิสัมพันธ์เชิงบวก ส่งผลให้นักเรียนรักการเรียนรู้
 
สรุปคะแนนประเมิน 0.00
ไฟล์ประกอบ
ขั้นเตรียมการ
ขั้นดำเนินการ
ขั้นตรวจสอบประเมินผล
ขั้นสรุปและรายงาน
งบประมาณ
การบรรลุตัวชี้วัด
ความพึงพอใจ
ปัญหาและอุปสรรค
ข้อเสนอแนะ
รูปภาพประกอบ

ออกแบบและพัฒนาโดย สารสนเทศสำนักบริหารการมัธยมศึกษา SESA 2.0