โลโก้เว็บไซต์ สารสนเทศสำนักบริหารมัธยมศึกษาตอนปลาย
  PDF

งานแนะแนว 64

โรงเรียน : ปากพลีวิทยาคาร สพม.ปราจีนบุรี นครนายก

ประเภท : โรงเรียนในฝัน (Lab School)

ผลการประเมิน : 0.00

เผยแพร่เมื่อ : 30 เม.ย. 2564 โดย : sumalee tumma จำนวนผู้เข้าชม 51 คน


ชื่อโครงการ/กิจกรรม งานแนะแนว 64
ประเภท โรงเรียนในฝัน (Lab School)
ปีการศึกษา 2564
มาตรฐาน

     2.2 มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา

     3.3 มีการบริหารจัดการชั้นเรียบเชิงบวก
     3.4 ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบและนำผลมาพัฒนาผู้เรียน
ผู้รับผิดชอบ
ความเป็นมา การแนะแนวเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาเพื่อพัฒนาศักยภาพให้เจริญถึงที่สุด  ในปัจจุบันงานแนะแนวมีความจำเป็นและมีบทบาทสำคัญยิ่งต่อการช่วยเหลือส่งเสริมพัฒนานักเรียนและเยาวชนในทุกรูปแบบ เริ่มตั้งแต่การช่วยเหลือให้นักเรียนได้รู้จักตัวเองเข้าใจความถนัดความสามารถของตนเองรู้จักคิดรู้จักเลือกตัดสินใจรู้จักวางแผนเป้าหมายและวางแผนชีวิตเพื่อให้นักเรียนและเยาวชนสามารตัดสินใจดำเนินชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความหมายเป็นไปอย่างถูกต้องมากยิ่งขึ้น  งานแนะแนวเป็นกิจกรรมทางการศึกษาที่สำคัญซึ่งประกอบด้วยบริการทั้ง 5 อย่าง  ได้แก่  บริการสำรวจและศึกษาเด็กเป็นรายบุคคล  บริการสนเทศ  บริการ   จัดวางตัวบุคคล  บริการให้คำปรึกษา  แบบสำรวจกิจกรรมกลวิธีและขบวนการต่างๆ มากมาย  ต้องทุ่มเทความสามารถความรู้ความสนใจและมีการประสานงานทุกฝ่ายจึงสามารถบรรลุตามหลักการและจุดมุ่งหมายของการแนะแนว
 
วัตถุประสงค์           1. เพื่อให้นักเรียนรู้จักตนเองและพัฒนาตนเองอย่างเต็มตามศักยภาพ
          2. เพื่อให้สามารถให้ความช่วยเหลือและพัฒนานักเรียนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีในอนาคต
          3. เพื่อช่วยให้นักเรียนมีแนวทางการตัดสินใจในการดำเนินชีวิต การศึกษาและการประกอบอาชีพ
 
เป้าหมาย ด้านปริมาณ
          1. นักเรียนได้รับบริการแนะแนวอย่างทั่วถึง ร้อยละ 100
          2. นักเรียน ม.3 และม.6 เมื่อจบการศึกษาแล้ว เข้าศึกษาต่อ ร้อยละ 80
          3. ปริมาณนักเรียนเข้าใหม่เพิ่มขึ้นจากปีการศึกษา 2564  ร้อยละ 3
          4. นักเรียนได้รับการช่วยเหลือในเรื่องทุนการศึกษา ร้อยละ 80
ด้านคุณภาพ
          1. นักเรียนมีความพึงพอใจในการบริการแนะแนว
          2. นักเรียน ม.3 และม.6 ได้รับการแนะแนวทางในการศึกษาต่อ
          3. นักเรียนสนใจในการศึกษาต่อในสถาบันเพิ่มขึ้น
          4. นักเรียนมีคุณสมบัติตรงตามข้อกำหนดในเรื่องทุนการศึกษา
 
ระยะเวลา 1 พ.ค. 2564 - 31 มี.ค. 2565
สถานที่ดำเนินการ โรงเรียนปากพลีวิทยาคาร
ตัวชี้วัด ด้านปริมาณ
          1. นักเรียนได้รับบริการแนะแนวอย่างทั่วถึง ร้อยละ 100
          2. นักเรียน ม.3 และม.6 เมื่อจบการศึกษาแล้ว เข้าศึกษาต่อ ร้อยละ 80
          3. ปริมาณนักเรียนเข้าใหม่เพิ่มขึ้นจากปีการศึกษา 2564  ร้อยละ 3
          4. นักเรียนได้รับการช่วยเหลือในเรื่องทุนการศึกษา ร้อยละ 80
ด้านคุณภาพ
          1. นักเรียนมีความพึงพอใจในการบริการแนะแนว
          2. นักเรียน ม.3 และม.6 ได้รับการแนะแนวทางในการศึกษาต่อ
          3. นักเรียนสนใจในการศึกษาต่อในสถาบันเพิ่มขึ้น
          4. นักเรียนมีคุณสมบัติตรงตามข้อกำหนดในเรื่องทุนการศึกษา
 
ผลที่คาดว่าจะได้รับ ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. นักเรียนรู้จักตนเองและพัฒนาตนเองอย่างเต็มตามศักยภาพ
  2. โรงเรียนสามารถให้ความช่วยเหลือและพัฒนานักเรียนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีในอนาคต
  3. นักเรียนมีแนวทางการตัดสินใจในการดำเนินชีวิต การศึกษาและการประกอบอาชีพที่เหมาะสม
สรุปคะแนนประเมิน 0.00
ไฟล์ประกอบ
ขั้นเตรียมการ
1.เตรียมการ(Plan)
    1.1 ประชุมวิเคราะห์ข้อมูลและวางแผนและดำเนินการ
    1.2 เขียนโครงการ
เพื่อขออนุมัติดำเนินการ
    1.3 เสนอแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน
ขั้นดำเนินการ
ขั้นตอน เป้าหมาย ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ
1.เตรียมการ(Plan)
1.1 ประชุมวิเคราะห์ข้อมูลและวางแผนและดำเนินการ
    1.2 เขียนโครงการ
เพื่อขออนุมัติดำเนินการ
    1.3 เสนอแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน




 
มี.ค. 2564 งานแนะแนว
2.ดำเนินการ(Do)
2.1 ระเบียนสะสม

2.2 จัดซื้อสื่อและอุปกรณ์ห้องแนะแนว



2.3 แนะแนวการศึกษาต่อ


2.4 พี่พบน้อง




2.5 ปัจฉิมนิเทศ
    2.5.1 พิธีรับมอบวุฒิบัตร


2.6 แนะแนวสัญจร


2.7 สารสนเทศงานแนะแนว

1. รู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล
2. พัฒนาสื่อการเรียนการสอนและห้องแนะแนวให้มีสภาพพร้อมต่อการเรียนรู้
3. นักเรียนได้รับรู้ข้อมูลการศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา
4. สานสัมพันธ์ระหว่างรุ่นพี่และรุ่นน้อง รุ่นพี่แนะแนวน้องเรื่องการ
ศึกษาต่อ
6. นักเรียนตระหนักและเห็นความสำคัญของการศึกษา และเกิดความรักสถาบัน
7. แนะแนวการศึกษาต่อ ม.1 และม.4
8. นักเรียนได้รับข้อมูลข่าวสารเรื่องการศึกษาต่อ

เมษายน 2564 –มีนาคม 2565

งานแนะแนว
3. ตรวจสอบ(Check)ประเมินโครงการ ประเมินความพึงพอใจรายงานผล   เมษายน 2564 –มีนาคม 2565 งานแนะแนว
4. ปรับปรุง/พัฒนา(Act)
นำผลการประเมินมาเปรียบเทียบ ปรับปรุง พัฒนา
  มีนาคม 2565 งานแนะแนว
ขั้นตรวจสอบประเมินผล
ตัวชี้วัดความสำเร็จ วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือ
ด้านคุณภาพ
-นักเรียนมีความพึงพอใจในการบริการแนะแนว
-นักเรียน ม.3 และม.6 ได้รับการแนะแนวทางในการศึกษาต่อ
-นักเรียนสนใจในการศึกษาต่อในสถาบันเพิ่มขึ้น
-นักเรียนมีคุณสมบัติตรงตามข้อกำหนดในเรื่องทุน
การศึกษา
 

-ใช้แบบสำรวจความพึงพอใจ

-แบบบันทึกการแนะแนว
ศึกษาต่อ
-ทะเบียนนักเรียนศึกษาต่อ

-ทะเบียนนักเรียนได้รับทุน

-แบบประเมินความพึงพอใจ

-แบบบันทึกการแนะแนว
ศึกษาต่อ
-แบบบันทึกทะเบียน นักเรียนศึกษาต่อ
-แบบบันทึกนักเรียน ได้รับทุนการศึกษา
ขั้นสรุปและรายงาน
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือ

-ใช้แบบสำรวจความพึงพอใจ

-แบบบันทึกการแนะแนว
ศึกษาต่อ
-ทะเบียนนักเรียนศึกษาต่อ

-ทะเบียนนักเรียนได้รับทุน

-แบบประเมินความพึงพอใจ

-แบบบันทึกการแนะแนว
ศึกษาต่อ
-แบบบันทึกทะเบียน นักเรียนศึกษาต่อ
-แบบบันทึกนักเรียน ได้รับทุนการศึกษา
งบประมาณ
การบรรลุตัวชี้วัด
ความพึงพอใจ
ปัญหาและอุปสรรค
ข้อเสนอแนะ
รูปภาพประกอบ

ออกแบบและพัฒนาโดย สารสนเทศสำนักบริหารการมัธยมศึกษา SESA 2.0