ชื่อโครงการ/กิจกรรม |
ส่งเสริมวิชาการและพัฒนาระบบบริหารงานวิชาการ |
ประเภท |
โรงเรียนที่จัดกิจกรรมการเรียนรู้ฯ ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง |
ปีการศึกษา |
2567 |
มาตรฐาน |
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน
1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน 1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
2.3 ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาและทุกกลุ่มเป้าหมาย 2.5 จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ 2.6 จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
3.1 จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงและสามารถนำไปประยุกต็ใช้ในชีวิตได้ 3.2 ใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ 3.3 มีการบริหารจัดการชั้นเรียบเชิงบวก 3.4 ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบและนำผลมาพัฒนาผู้เรียน 3.5 มีการแลกเปลียนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ |
ผู้รับผิดชอบ |
|
ความเป็นมา |
โดยที่มาตรา 39 แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. พ.ศ. 2545 บัญญัติให้กระทรวงศึกษาธิการกระจายอำนาจการบริหารและการจัดการศึกษาทั้งด้านวิชาการ ด้านงบประมาณ ด้านการบริหารงานบุคคล และด้านการบริหารทั่วไป ไปยังคณะกรรมการ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา รวมทั้งสถานศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษาโดยตรง ทั้งนี้หลักเกณฑ์และวิธีการกระจายอำนาจให้เป็นไปตามที่กำหนดในกฎกระทรวง จึงทำให้กระทรวงศึกษาธิการจำเป็นต้องออกกฎกระทรวง ว่าด้วยการกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการกระจายอำนาจการบริหารและจัดการศึกษา พ.ศ. 2550 ซึ่งประกาศใช้เมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม 2550 ข้อ 5 ให้ผู้อำนวยการสถานศึกษาประเภทที่สองมีอำนาจการบริหารและการจัดการศึกษาตามที่กฎหมายกำหนดเป็นอำนาจหน้าที่ของตนเองในเรื่อง ดังต่อไปนี้ (1) ด้านวิชาการ (ก) การพัฒนาหรือการดำเนินการเกี่ยวกับการให้ความเห็นการพัฒนาสาระหลักสูตรท้องถิ่น (ข) การวางแผนงานด้านวิชาการ (ค) การจัดการเรียนการสอนในสถานศึกษา (ง) การพัฒนาหลักสูตรของสถานศึกษา (จ) การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ (ฉ) การวัดผล ประเมินผล และดำเนินการเทียบโอนผลการเรียน (ช) การวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาในสถานศึกษา (ซ) การพัฒนาและส่งเสริมให้มีแหล่งเรียนรู้ (ฌ) การนิเทศการศึกษา (ญ) การแนะแนว (ฎ) การพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในและมาตรฐานการศึกษา (ฏ) การส่งเสริมชุมชนให้มีความเข้มแข็งทางวิชาการ (ฐ) การประสานความร่วมมือในการพัฒนาวิชาการกับสถานศึกษาและองค์กรอื่น (ฑ) การส่งเสริมและสนับสนุนงานวิชาการแก่บุคคล ครอบครัว องค์กร
หน่วยงาน สถานประกอบการและสถาบันอื่นที่จัดการศึกษา (ฒ) การจัดทำ ระเบียบ และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับงานวิชาการของสถานศึกษา (ณ) การคัดเลือกหนังสือ แบบเรียนเพื่อใช้ในสถานศึกษา (ด) การพัฒนาและใช้สื่อเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
จากการกระจายอำนาจให้กับสถานศึกษาในการบริหารงาน หนึ่งในหน้าที่ที่สถานศึกษาต้องรับผิดชอบ คือ ด้านวิชาการ ดังนั้น โรงเรียนเนินทรายวิทยาคมในฐานะหน่วยงานทางการศึกษา จึงนำรูปแบบการกระจายอำนาจนี้มีบริหารงาน และเพื่อให้การบริหารงานมีประสิทธิภาพสูงสุด บรรลุจุดหมายตามที่สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการได้กำหนด จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมวิชาการและพัฒนาระบบบริหารงานวิชาการให้มีประสิทธิภาพ นำเทคโนโลยีมาช่วยในการพัฒนาระบบบริหารงานวิชาการให้ทันสมัยต่อไป
|
วัตถุประสงค์ |
2.1 เพื่อให้ผู้เรียนมีความก้าวหน้าทางการเรียนตามหลักสูตรอย่างต่อเนื่อง
2.2 เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับชาติ (O-NET) ของสถานศึกษา มีพัฒนาการอย่างต่อเนื่อง
หรือมีค่าเฉลี่ยของสถานศึกษาสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ
2.3 เพื่อให้ผู้เรียนยอมรับเหตุผล ความคิดเห็นของผู้อื่น และมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี
2.4 เพื่อให้สถานศึกษามีพัฒนาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานและหลักสูตรระดับท้องถิ่นครบถ้วน
อย่างต่อเนื่อง มีความสอดคล้องกับเป้าหมาย จุดเน้น สาระท้องถิ่น และสอดคล้องแผนการศึกษาแห่งชาติ
พ.ศ. 2560 – 2579 นำไปใช้ในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
2.5 เพื่อให้สถานศึกษามีสภาพแวดล้อมสวยงาม อาคารสถานที่ทุกแห่งมีความสะอาด และมีระบบรักษาความปลอดภัย
2.6 เพื่อให้สถานศึกษามีห้องเรียน ห้องปฏิบัติการถูกสุขลักษณะ มีความมั่นคงแข็งแรง อุปกรณ์ และสิ่งอำนวยความสะดวกมีปริมาณเพียงพอ
2.7 เพื่อดำเนินการจัดหา ระบบเทคโนโลยีเพื่อการเรียน การสอน และเพื่อการบริหารและการจัดการ
ให้เป็นไปตามแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมที่กำหนด
2.8 เพื่อให้มีการใช้เทคโนโลยีและการสื่อสารเพื่อการเรียนการสอน และการบริหารและ
การจัดการศึกษาตามแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมที่กำหนดได้บางกลุ่มงาน
2.9 เพื่อกำกับ ติดตาม และประเมินผลการใช้เทคโนโลยีและการสื่อสารเพื่อการศึกษาอย่างเป็นระบบ
2.10 เพื่อให้มีระบบการดูแลบำรุงรักษาเทคโนโลยีและการสื่อสารเพื่อการศึกษา และดำเนินให้ใช้งานได้
2.11 เพื่อออกแบบการเรียนรู้โดยใช้ข้อมูลการวิเคราะห์ผู้เรียน และความเข้าใจผู้เรียนรายบุคคล
เน้นความสามารถในการอ่าน เขียน การสื่อสาร การคิดคำนวณ
2.12 เพื่อจัดกิจกรรมการสอนที่ผู้เรียนเรียนรู้โดยผ่านกระบวนการคิดได้ปฏิบัติจริงด้วยวิธีการและแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย สรุปองค์ความรู้ และสามารถนำไปใช้ในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้เป็นอย่างดี
2.13 เพื่อให้ผู้เรียนได้ฝึกปฏิบัติ ทำงานเป็นกลุ่ม อภิปรายและนำเสนองานด้วยวิธีการที่เหมาะสม และใช้เทคโนโลยีในการนำเสนอผลงาน
2.14 เพื่อสอนซ่อมเสริมให้แก่ผู้เรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน เพิ่มพูนศักยภาพผู้เรียนที่มีความสามารถพิเศษ
2.15 เพื่อให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการจัดบรรยากาศสภาพแวดล้อม สื่อการเรียน และอำนวยความสะดวก ที่เอื้อต่อการเรียนรู้
2.16 เพื่อนำสื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ แหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่น ที่สอดคล้องกับเป้าหมาย การเรียนรู้ สู่การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามธรรมชาติวิชา และเน้นการมีส่วนร่วมของผู้เรียน
2.17 เพื่อให้มีการจัดบรรยากาศทั้งด้านกายภาพ การจัดสภาพแวดล้อมในห้องเรียนทั้งการจัดตกแต่งในห้องเรียน จัดที่นั่ง จัดมุมเสริมความรู้ต่าง ๆ ให้สะดวกต่อการเรียนการสอน
2.18 เพื่อให้ครูผู้สอนมีบุคลิกภาพความเป็นครูได้เหมาะสม ปรับพฤติกรรมการสอนให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี มีเทคนิคในการปกครองชั้นเรียน และสร้างปฏิสัมพันธ์ที่ส่งเสริมการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียน
2.19 เพื่อให้ครูผู้สอนมีการประเมินผู้เรียนจากสภาพจริง
2.20 เพื่อให้ครูผู้สอนมีขั้นตอนตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ
2.21 เพื่อให้ครูผู้สอนมีการใช้เครื่องมือ และวิธีการวัด และประเมินผลที่เหมาะสมกับเป้าหมาย และการจัดการเรียนการสอน
2.22 เพื่อให้ผู้เรียนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการวัดและประเมินผล
2.23 เพื่อให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้เรียนและผู้เรียนนำไปใช้พัฒนาตนเอง
2.24 เพื่อให้ครูนำข้อมูลการวัดและประเมินผลมาปรับปรุงการสอน และแก้ไขพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง
2.25 เพื่อรายงานผลการเรียนและความก้าวหน้าของผู้เรียนให้ผู้ปกครองทราบอย่างเป็นระบบ ดำเนินการอย่างต่อเนื่อง และรับฟังข้อเสนอแนะเพิ่มเติมจากผู้ปกครองของผู้เรียน
2.26 เพื่อแจ้งผลการประเมินของผู้เรียนอย่างเป็นรูปธรรม ผู้เรียนใช้ข้อมูลนั้นปรับปรุงการเรียนรู้ของตนเอง
|
เป้าหมาย |
ด้านปริมาณ
- ผู้เรียนมีความก้าวหน้าทางการเรียนตามหลักสูตรอย่างต่อเนื่องทั้ง 8 กลุ่มสาระการเรียน
- ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับชาติ (O-NET) ของสถานศึกษามีพัฒนาการอย่างต่อเนื่อง 3 ปี หรือมีค่าเฉลี่ยของสถานศึกษาสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ ร้อยละ 2.01 – 3.00
- ผู้เรียนยอมรับเหตุผล ความคิดเห็นของผู้อื่น และมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี ตั้งแต่ร้อยละ 90 ขึ้นไป
- สถานศึกษามีการพัฒนาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานครบทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ร้อยละ 100 และมีหลักสูตรระดับท้องถิ่นอย่างต่อเนื่อง มีความสอดคล้องกับเป้าหมาย จุดเน้น สาระท้องถิ่น และสอดคล้องแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579
- ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการร้อยละ 100 มีสภาพแวดล้อมสวยงาม อาคารสถานที่ทุกแห่ง มีความสะอาด และมีระบบรักษาความปลอดภัย
-
- สถานศึกษามีห้องเรียน ห้องปฏิบัติการร้อยละ 80 ที่ถูกสุขลักษณะ มีความมั่นคงแข็งแรง อุปกรณ์ และสิ่งอำนวยความสะดวกมีปริมาณเพียงพอ
- สถานศึกษาดำเนินการจัดหาระบบเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน และเพื่อการบริหารและการจัดการให้เป็นไปตามแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ร้อยละ 100
- สถานศึกษามีการใช้เทคโนโลยีและการสื่อสารเพื่อการเรียนการสอน และการบริหารและ
- การจัดการศึกษาตามแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมที่กำหนด ร้อยละ 100
- สถานศึกษามีการกำกับ ติดตาม และประเมินผลการใช้เทคโนโลยีและการสื่อสารเพื่อการศึกษาอย่างเป็นระบบครบทุกโครงการร้อยละ 100
- สถานศึกษามีระบบการดูแลบำรุงรักษาเทคโนโลยีและการสื่อสารเพื่อการศึกษา ร้อยละ 80 ของอุปกรณ์ เทคโนโลยีที่นำมาใช้งานในสถานศึกษา
- ครูร้อยละ 100 ออกแบบการเรียนรู้โดยใช้ข้อมูลการวิเคราะห์ผู้เรียน และความเข้าใจผู้เรียนรายบุคคล เน้นความสามารถในการอ่าน เขียน การสื่อสาร การคิดคำนวณ
- ครูผู้สอนตั้งแต่ร้อยละ 70 ขึ้นไป จัดกิจกรรมการสอนที่ผู้เรียนเรียนรู้โดยผ่านกระบวนการคิดได้ปฏิบัติจริงด้วยวิธีการและแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย สรุปองค์ความรู้ และสามารถนำไปใช้ในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้เป็นอย่างดี
- ครูร้อยละ 100 ให้เวลาผู้เรียนได้ฝึกปฏิบัติ ทำงานเป็นกลุ่ม อภิปรายและนำเสนองานด้วยวิธีการที่เหมาะสม และใช้เทคโนโลยีในการนำเสนอผลงาน
- ครูร้อยละ 50 จัดสอนซ่อมเสริมให้แก่ผู้เรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน เพิ่มพูนศักยภาพผู้เรียนที่มีความสามารถพิเศษ
- ครูผู้สอนตั้งแต่ร้อยละ 70 ขึ้นไป ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการจัดบรรยากาศสภาพแวดล้อม สื่อการเรียน และอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้
- ครูร้อยละ 100 ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ แหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่น สอดคล้องกับเป้าหมายการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ตามธรรมชาติวิชา และเน้นการมีส่วนร่วมของผู้เรียน
- ครูร้อยละ 80 ขึ้นไป มีการจัดบรรยากาศมีทั้งด้านกายภาพ เป็นการจัดสภาพแวดล้อม ในห้องเรียนทั้งการจัด ตกแต่งในห้องเรียน จัดที่นั่ง จัดมุมเสริมความรู้ต่าง ๆ ให้สะดวก ต่อการเรียนการสอน
- ครูผู้สอนตั้งแต่ร้อยละ 80 ขึ้นไป มีบุคลิกภาพความเป็นครูได้เหมาะสม ปรับพฤติกรรมการสอนให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี มีเทคนิคในการปกครองชั้นเรียน และสร้างปฏิสัมพันธ์ที่ส่งเสริมการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียน
- ครูผู้สอนตั้งแต่ร้อยละ 80 ขึ้นไป มีการประเมินผู้เรียนจากสภาพจริง
- ครูผู้สอนตั้งแต่ร้อยละ 80 ขึ้นไป มีขั้นตอนตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ
- ครูผู้สอนตั้งแต่ร้อยละ 80 ขึ้นไป มีการใช้เครื่องมือ และวิธีการวัด และประเมินผลที่เหมาะสมกับเป้าหมายและการจัดการเรียนการสอน
- ครูผู้สอนร้อยละ 80 ขึ้นไป ให้ผู้เรียนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการวัดและประเมินผล
- ครูผู้สอนตั้งแต่ร้อยละ 80 ขึ้นไป ให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้เรียนและผู้เรียนนำไปใช้พัฒนาตนเอง
- ครูร้อยละ 100 นำข้อมูลการวัดและประเมินผลมาปรับปรุงการสอนของครู และแก้ไขพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง
- ครูร้อยละ 100 รายงานผลการเรียนและความก้าวหน้าของผู้เรียนให้ผู้ปกครองทราบอย่างเป็นระบบ ดำเนินการอย่างต่อเนื่อง และรับฟังข้อเสนอแนะเพิ่มเติมจากผู้ปกครองของผู้เรียน
- ครูร้อยละ 100 แจ้งผลการประเมินของผู้เรียนอย่างเป็นรูปธรรม ผู้เรียนใช้ข้อมูลนั้นปรับปรุงการเรียนรู้ของตนเองได้
- ด้านคุณภาพ
- ผู้เรียนมีความก้าวหน้าทางการเรียนตามหลักสูตรอย่างต่อเนื่อง
- ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับชาติ (O-NET) ของสถานศึกษามีพัฒนาการอย่างต่อเนื่อง หรือมีค่าเฉลี่ยของสถานศึกษาสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ
- ผู้เรียนยอมรับเหตุผล ความคิดเห็นของผู้อื่น และมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี
- สถานศึกษามีการพัฒนาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ และมีหลักสูตรระดับท้องถิ่นอย่างต่อเนื่อง มีความสอดคล้องกับเป้าหมาย จุดเน้น สาระท้องถิ่น และสอดคล้องแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579
- สถานศึกษามีสภาพแวดล้อมสวยงาม อาคารสถานที่ทุกแห่งมีความสะอาด และมีระบบรักษาความปลอดภัย
- สถานศึกษามีห้องเรียน ห้องปฏิบัติการถูกสุขลักษณะ มีความมั่นคงแข็งแรง อุปกรณ์ และสิ่งอำนวยความสะดวกมีปริมาณเพียงพอ
- สถานศึกษาดำเนินการจัดหาระบบเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน และเพื่อการบริหารและการจัดการให้เป็นไปตามแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
- สถานศึกษามีการใช้เทคโนโลยีและการสื่อสารเพื่อการเรียนการสอน และการบริหารและ
- การจัดการศึกษาตามแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมที่กำหนด
- สถานศึกษามีการกำกับ ติดตาม และประเมินผลการใช้เทคโนโลยีและการสื่อสารเพื่อการศึกษาอย่างเป็นระบบ
- สถานศึกษามีระบบการดูแลบำรุงรักษาเทคโนโลยีและการสื่อสารเพื่อการศึกษา
- ครูออกแบบการเรียนรู้โดยใช้ข้อมูลการวิเคราะห์ผู้เรียน และความเข้าใจผู้เรียนรายบุคคล เน้นความสามารถในการอ่าน เขียน การสื่อสาร การคิดคำนวณ
- ครูผู้สอนจัดกิจกรรมการสอนที่ผู้เรียนเรียนรู้โดยผ่านกระบวนการคิดได้ปฏิบัติจริงด้วยวิธีการและแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย สรุปองค์ความรู้ และสามารถนำไปใช้ในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้เป็นอย่างดี
- ครูให้เวลาผู้เรียนได้ฝึกปฏิบัติ ทำงานเป็นกลุ่ม อภิปรายและนำเสนองานด้วยวิธีการที่เหมาะสม และใช้เทคโนโลยีในการนำเสนอผลงาน
- ครูจัดสอนซ่อมเสริมให้แก่ผู้เรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน เพิ่มพูนศักยภาพผู้เรียนที่มีความสามารถพิเศษ
- ครูผู้สอนส่งเสริมให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการจัดบรรยากาศสภาพแวดล้อม สื่อการเรียน และอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้
- ครูใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ แหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่น สอดคล้องกับเป้าหมายการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ตามธรรมชาติวิชา และเน้นการมีส่วนร่วมของผู้เรียน
- ครูมีการจัดบรรยากาศมีทั้งด้านกายภาพ เป็นการจัดสภาพแวดล้อมในห้องเรียนทั้งการจัด ตกแต่งในห้องเรียน จัดที่นั่ง จัดมุมเสริมความรู้ต่าง ๆ ให้สะดวกต่อการเรียนการสอน
- ครูผู้สอนมีบุคลิกภาพความเป็นครูได้เหมาะสม ปรับพฤติกรรมการสอนให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี มีเทคนิคในการปกครองชั้นเรียน และสร้างปฏิสัมพันธ์ที่ส่งเสริมการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียน
- ครูผู้สอนมีการประเมินผู้เรียนจากสภาพจริง
- ครูผู้สอนมีขั้นตอนตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ
- ครูผู้สอนมีการใช้เครื่องมือ และวิธีการวัด และประเมินผลที่เหมาะสมกับเป้าหมายและ การจัดการเรียนการสอน
- ครูผู้สอนให้ผู้เรียนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการวัดและประเมินผล
- ครูผู้สอนให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้เรียนและผู้เรียนนำไปใช้พัฒนาตนเอง
- ครูนำข้อมูลการวัดและประเมินผลมาปรับปรุงการสอนของครู และแก้ไขพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง
- ครูรายงานผลการเรียนและความก้าวหน้าของผู้เรียนให้ผู้ปกครองทราบอย่างเป็นระบบ ดำเนินการอย่างต่อเนื่อง และรับฟังข้อเสนอแนะเพิ่มเติมจากผู้ปกครองของผู้เรียน
-
- ครูแจ้งผลการประเมินของผู้เรียนอย่างเป็นรูปธรรม ผู้เรียนใช้ข้อมูลนั้นปรับปรุงการเรียนรู้ของตนเองได้
|
ระยะเวลา |
1 ก.ย. 2566 - 30 ต.ค. 2567 |
สถานที่ดำเนินการ |
โรงเรียนเนินทรายวิทยาคม |
ตัวชี้วัด |
1. ผู้เรียนมีความก้าวหน้าทางการเรียนตามหลักสูตรอย่างต่อเนื่องทั้ง 8 กลุ่มสาระการเรียน
2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับชาติ (O-NET) ของสถานศึกษามีพัฒนาการอย่างต่อเนื่อง 3 ปี หรือมีค่าเฉลี่ยของสถานศึกษาสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ ร้อยละ 2.01 – 3.00
3. ผู้เรียนยอมรับเหตุผล ความคิดเห็นของผู้อื่น และมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี ตั้งแต่ร้อยละ 90 ขึ้นไป
4. สถานศึกษามีการพัฒนาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานครบทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ร้อยละ 100 และมีหลักสูตรระดับท้องถิ่นอย่างต่อเนื่อง มีความสอดคล้องกับเป้าหมาย จุดเน้น สาระท้องถิ่น และสอดคล้องแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579
5. ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการร้อยละ 100 มีสภาพแวดล้อมสวยงาม อาคารสถานที่ทุกแห่ง มีความสะอาด และมีระบบรักษาความปลอดภัย
6. สถานศึกษามีห้องเรียน ห้องปฏิบัติการร้อยละ 80 ที่ถูกสุขลักษณะ มีความมั่นคงแข็งแรง อุปกรณ์ และสิ่งอำนวยความสะดวกมีปริมาณเพียงพอ
7. สถานศึกษาดำเนินการจัดหาระบบเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน และเพื่อการบริหารและการจัดการให้เป็นไปตามแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ร้อยละ 100
8. สถานศึกษามีการใช้เทคโนโลยีและการสื่อสารเพื่อการเรียนการสอน และการบริหารและการจัดการศึกษาตามแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมที่กำหนด ร้อยละ 100
9. สถานศึกษามีการกำกับ ติดตาม และประเมินผลการใช้เทคโนโลยีและการสื่อสารเพื่อการศึกษาอย่างเป็นระบบครบทุกโครงการร้อยละ 100
10. สถานศึกษามีระบบการดูแลบำรุงรักษาเทคโนโลยีและการสื่อสารเพื่อการศึกษา ร้อยละ 80 ของอุปกรณ์ เทคโนโลยีที่นำมาใช้งานในสถานศึกษา
11. ครูร้อยละ 100 ออกแบบการเรียนรู้โดยใช้ข้อมูลการวิเคราะห์ผู้เรียน และความเข้าใจผู้เรียนรายบุคคล เน้นความสามารถในการอ่าน เขียน การสื่อสาร การคิดคำนวณ
12. ครูผู้สอนตั้งแต่ร้อยละ 70 ขึ้นไป จัดกิจกรรมการสอนที่ผู้เรียนเรียนรู้โดยผ่านกระบวนการคิดได้ปฏิบัติจริงด้วยวิธีการและแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย สรุปองค์ความรู้ และสามารถนำไปใช้ในสถานการณ์ ต่าง ๆ ได้เป็นอย่างดี
13. ครูร้อยละ 100 ให้เวลาผู้เรียนได้ฝึกปฏิบัติ ทำงานเป็นกลุ่ม อภิปรายและนำเสนองานด้วยวิธีการที่เหมาะสม และใช้เทคโนโลยีในการนำเสนอผลงาน
14. ครูร้อยละ 50 จัดสอนซ่อมเสริมให้แก่ผู้เรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน เพิ่มพูนศักยภาพผู้เรียนที่มีความสามารถพิเศษ
15. ครูผู้สอนตั้งแต่ร้อยละ 70 ขึ้นไป ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการจัดบรรยากาศสภาพแวดล้อม สื่อการเรียน และอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้
16. ครูร้อยละ 100 ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ แหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่น สอดคล้องกับเป้าหมายการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ตามธรรมชาติวิชา และเน้นการมีส่วนร่วมของผู้เรียน
17. ครูร้อยละ 80 ขึ้นไป มีการจัดบรรยากาศมีทั้งด้านกายภาพ เป็นการจัดสภาพแวดล้อมในห้องเรียนทั้งการจัด ตกแต่งในห้องเรียน จัดที่นั่ง จัดมุมเสริมความรู้ต่าง ๆ ให้สะดวกต่อการเรียนการสอน
18. ครูผู้สอนตั้งแต่ร้อยละ 80 ขึ้นไป มีบุคลิกภาพความเป็นครูได้เหมาะสม ปรับพฤติกรรมการสอนให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี มีเทคนิคในการปกครองชั้นเรียน และสร้างปฏิสัมพันธ์ที่ส่งเสริมการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียน
19. ครูผู้สอนตั้งแต่ร้อยละ 80 ขึ้นไป มีการประเมินผู้เรียนจากสภาพจริง
20. ครูผู้สอนตั้งแต่ร้อยละ 80 ขึ้นไป มีขั้นตอนตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ
21. ครูผู้สอนตั้งแต่ร้อยละ 80 ขึ้นไป มีการใช้เครื่องมือ และวิธีการวัด และประเมินผลที่เหมาะสมกับเป้าหมายและการจัดการเรียนการสอน
22. ครูผู้สอนร้อยละ 80 ขึ้นไป ให้ผู้เรียนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการวัดและประเมินผล
23. ครูผู้สอนตั้งแต่ร้อยละ 80 ขึ้นไป ให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้เรียนและผู้เรียนนำไปใช้พัฒนาตนเอง
24. ครูร้อยละ 100 นำข้อมูลการวัดและประเมินผลมาปรับปรุงการสอนของครู และแก้ไขพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง
25. ครูร้อยละ 100 รายงานผลการเรียนและความก้าวหน้าของผู้เรียนให้ผู้ปกครองทราบอย่างเป็นระบบ ดำเนินการอย่างต่อเนื่อง และรับฟังข้อเสนอแนะเพิ่มเติมจากผู้ปกครองของผู้เรียน
26. ครูร้อยละ 100 แจ้งผลการประเมินของผู้เรียนอย่างเป็นรูปธรรม ผู้เรียนใช้ข้อมูลนั้นปรับปรุงการเรียนรู้ของตนเองได้ |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ |
-
- ผู้เรียนมีความก้าวหน้าทางการเรียนตามหลักสูตรอย่างต่อเนื่อง
- ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับชาติ (O-NET) ของสถานศึกษามีพัฒนาการอย่างต่อเนื่อง หรือมีค่าเฉลี่ยของสถานศึกษาสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ
- ผู้เรียนยอมรับเหตุผล ความคิดเห็นของผู้อื่น และมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี
- สถานศึกษามีการพัฒนาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ และมีหลักสูตรระดับท้องถิ่นอย่างต่อเนื่อง มีความสอดคล้องกับเป้าหมาย จุดเน้น สาระท้องถิ่น และสอดคล้องแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579
- สถานศึกษามีสภาพแวดล้อมสวยงาม อาคารสถานที่ทุกแห่งมีความสะอาด และมีระบบรักษาความปลอดภัย
- สถานศึกษามีห้องเรียน ห้องปฏิบัติการถูกสุขลักษณะ มีความมั่นคงแข็งแรง อุปกรณ์ และ สิ่งอำนวยความสะดวกมีปริมาณเพียงพอ
- สถานศึกษาดำเนินการจัดหาระบบเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน และเพื่อการบริหารและการจัดการให้เป็นไปตามแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
- สถานศึกษามีการใช้เทคโนโลยีและการสื่อสารเพื่อการเรียนการสอน และการบริหารและ การจัดการศึกษาตามแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมที่กำหนด
- สถานศึกษามีการกำกับ ติดตาม และประเมินผลการใช้เทคโนโลยีและการสื่อสารเพื่อการศึกษาอย่างเป็นระบบ
- สถานศึกษามีระบบการดูแลบำรุงรักษาเทคโนโลยีและการสื่อสารเพื่อการศึกษา
- ครูออกแบบการเรียนรู้โดยใช้ข้อมูลการวิเคราะห์ผู้เรียน และความเข้าใจผู้เรียนรายบุคคล
เน้นความสามารถในการอ่าน เขียน การสื่อสาร การคิดคำนวณ
-
- ครูผู้สอนจัดกิจกรรมการสอนที่ผู้เรียนเรียนรู้โดยผ่านกระบวนการคิดได้ปฏิบัติจริงด้วย
วิธีการและแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย สรุปองค์ความรู้ และสามารถนำไปใช้ในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้เป็นอย่างดี
-
- ครูให้เวลาผู้เรียนได้ฝึกปฏิบัติ ทำงานเป็นกลุ่ม อภิปรายและนำเสนองานด้วยวิธีการ
ที่เหมาะสม และใช้เทคโนโลยีในการนำเสนอผลงาน
-
- ครูจัดสอนซ่อมเสริมให้แก่ผู้เรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน เพิ่มพูนศักยภาพผู้เรียนที่มี
ความสามารถพิเศษ
-
- ครูผู้สอนส่งเสริมให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการจัดบรรยากาศสภาพแวดล้อม สื่อการเรียน และ
อำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้
-
- ครูใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ แหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่น สอดคล้องกับเป้าหมาย
การเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ตามธรรมชาติวิชา และเน้นการมีส่วนร่วมของผู้เรียน
-
- ครูมีการจัดบรรยากาศมีทั้งด้านกายภาพ เป็นการจัดสภาพแวดล้อมในห้องเรียนทั้ง
การจัด ตกแต่งในห้องเรียน จัดที่นั่ง จัดมุมเสริมความรู้ต่าง ๆ ให้สะดวกต่อการเรียน
การสอน
-
- ครูผู้สอนมีบุคลิกภาพความเป็นครูได้เหมาะสม ปรับพฤติกรรมการสอนให้ผู้เรียนเกิด
การเรียนรู้ได้ดี มีเทคนิคในการปกครองชั้นเรียน และสร้างปฏิสัมพันธ์ที่ส่งเสริมการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียน
-
- ครูผู้สอนมีการประเมินผู้เรียนจากสภาพจริง
- ครูผู้สอนมีขั้นตอนตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ
- ครูผู้สอนมีการใช้เครื่องมือ และวิธีการวัด และประเมินผลที่เหมาะสมกับเป้าหมายและ
การจัดการเรียนการสอน
-
- ครูผู้สอนให้ผู้เรียนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการวัดและประเมินผล
- ครูผู้สอนให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้เรียนและผู้เรียนนำไปใช้พัฒนาตนเอง
- ครูนำข้อมูลการวัดและประเมินผลมาปรับปรุงการสอนของครู และแก้ไขพัฒนาการเรียนรู้
ของผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง
-
- ครูรายงานผลการเรียนและความก้าวหน้าของผู้เรียนให้ผู้ปกครองทราบอย่างเป็นระบบ
ดำเนินการอย่างต่อเนื่อง และรับฟังข้อเสนอแนะเพิ่มเติมจากผู้ปกครองของผู้เรียน
-
- ครูแจ้งผลการประเมินของผู้เรียนอย่างเป็นรูปธรรม ผู้เรียนใช้ข้อมูลนั้นปรับปรุงการเรียนรู้
ของตนเองได้
|
สรุปคะแนนประเมิน |
0.00 |
ไฟล์ประกอบ |
|
ขั้นเตรียมการ |
|
ขั้นดำเนินการ |
|
ขั้นตรวจสอบประเมินผล |
|
ขั้นสรุปและรายงาน |
|
งบประมาณ |
|
การบรรลุตัวชี้วัด |
|
ความพึงพอใจ |
|
ปัญหาและอุปสรรค |
|
ข้อเสนอแนะ |
|
รูปภาพประกอบ |
|