ชื่อโครงการ/กิจกรรม |
ศูนย์เรียนรวมจังหวัดพะเยา |
ประเภท |
โรงเรียนจัดการศึกษาพิเศษเรียนร่วม |
ปีการศึกษา |
2561 |
มาตรฐาน |
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน
1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน 1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน
3.1 จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงและสามารถนำไปประยุกต็ใช้ในชีวิตได้ |
ผู้รับผิดชอบ |
|
ความเป็นมา |
การจัดการศึกษาสำหรับนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษ รูปแบบการเรียนรวมในโรงเรียนปกติเป็นวิธีการหนึ่งที่จะทำให้นักเรียน ที่มีความต้องการพิเศษสามารถดำเนินชีวิตประจำวัน และอยู่ร่วมกับบุคคลอื่น ๆ ในสังคมได้อย่างมีความสุข ตามที่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 มาตรา 43 ที่กล่าวไว้ว่า บุคคลย่อมมีสิทธิ์เสมอกันในการได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานไม่น้อยกว่า 12 ปีที่รัฐต้องจัดให้อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย และพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 หมวด 2 สิทธิและหน้าที่ทางการศึกษา มาตรา 10 วรรค 2 การจัดการศึกษาสำหรับบุคคลซึ่งมีความบกพร่อง ทางร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์และสังคม การสื่อสารและการเรียนรู้ หรือมีร่างกายพิการ หรือทุพพลภาพหรือบุคคลซึ่งไม่สามารถพึ่งตนเองได้หรือไม่มีผู้ดูแล หรือด้อยโอกาสต้องจัดให้บุคคลดังกล่าวมีสิทธิและโอกาส ได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นพิเศษ
ทางโรงเรียนจึงได้จัดให้มีโครงการนี้ขึ้นเพื่อเป็นการส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษาพิเศษรูปแบบเรียนรวมในโรงเรียนโดยมีจุดเน้นที่ จะพัฒนาการบริหารจัดการเรียนรวมโดยใช้โครงสร้างซีท (SEAT) และทำการศึกษาวิจัยพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรวมสำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษแต่ละประเภท ซึ่งส่งผลให้นักเรียนที่มีความต้องการพิเศษได้รับการพัฒนาเต็มศักยภาพ
|
วัตถุประสงค์ |
วัตถุประสงค์
ผลลัพธ์ ( Outcomes)
โรงเรียนดอกคำใต้วิทยาคม สำนักเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 36 สามารถบริหารจัดการจัดการเรียนร่วมโดยใช้ โครงสร้างซีท (SEAT) และการบริหารโรงเรียนโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานในการจัดการเรียนร่วมสำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษแต่ละประเภท
ผลผลิต ( Outputs)
นักเรียนที่มีความต้องการพิเศษทุกคนได้รับการพัฒนา ตามศักยภาพที่บกพร่องและได้รับการ ฟื้นฟู ทางด้านวิชาการ ในการเรียนรู้ ตามหลักสูตรขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2544 ได้เต็มตามศักยภาพ
|
เป้าหมาย |
1. เป้าหมายเชิงปริมาณ .
โรงเรียนดอกคำใต้วิทยาคมเป็นโรงเรียนต้นแบบเรียนรวม ในปีการศึกษา 2559 สามารถบริหารจัดการเรียนรวมโดยใช้โครงสร้างซีท (SEAT) และทำการศึกษาวิจัยพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรวมสำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษแต่ละประเภท
2. เป้าหมายเชิงคุณภาพ
นักเรียนที่มีความต้องการพิเศษทุกคนได้รับการพัฒนาที่บกพร่องทางเรียนรู้ในโรงเรียนได้รับการฟื้นฟูทางด้านวิชาการในการเรียนรู้ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2544 ได้เต็มตามศักยภาพ |
ระยะเวลา |
1 ต.ค. 3103 - 30 ก.ย. 3104 |
สถานที่ดำเนินการ |
โรงเรียนดอกคำใต้วิทยาคม |
ตัวชี้วัด |
การติดตามและประเมินผล
ที่ |
ตัวชี้วัดความสำเร็จของแต่ละกิจกรรม |
วิธีการประเมิน |
เครื่องมือที่ใช้ |
1
|
ผลผลิต ( outputs )
โรงเรียนต้นแบบเรียนรวมโรงเรียนสามารถบริหารจัดการเรียนรวมโดยใช้โครงสร้างซีท (SEAT)และศึกษาวิจัยพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรวมสำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษแต่ละประเภท |
รายงานผลการดำเนินการของโรงเรียน
ประเมินผลการดำเนินงานของโรงเรียน |
1. แบบประเมินผลตนเอง
2. แบบประเมินผลการดำเนินงานของโรงเรียน
|
2 |
ผลลัพธ์ ( outcome )
นักเรียนที่ต้องการความเป็นพิเศษทุกคนได้รับการพัฒนาศักยภาพที่บกพร่องและได้รับการฟื้นฟูทางด้านวิชาการในการเรียนรู้ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2544 ได้เต็มตามศักยภาพ |
1.สอบถาม
2.ประเมินแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคลและแผนการสอนเป็นรายบุคคล |
1. แบบสอบถาม
2. แบบประเมินแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคลและแผนการสอนเป็นบุคคล |
|
ผลที่คาดว่าจะได้รับ |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
เพื่อต้องการให้เด็กพิการเรียนรวมมีพัฒนาการที่ดีขึ้นในด้านการอ่าน ด้านการเขียน ด้านการคำนวณ รวมถึงการจัดสื่อและสิ่งอำนวยความสะดวกแก่เด็กพิการเรียนรวมให้มีศักยภาพมากยิ่งขึ้น
|
สรุปคะแนนประเมิน |
0.00 |
ไฟล์ประกอบ |
|
ขั้นเตรียมการ |
|
ขั้นดำเนินการ |
|
ขั้นตรวจสอบประเมินผล |
|
ขั้นสรุปและรายงาน |
|
งบประมาณ |
ตาราง 1 การใช้จ่ายงบประมาณ
รายการ |
งบประมาณที่กำหนดไว้ในแผน |
งบประมาณที่ใช้จ่ายจริง |
1.เงินอุดหนุนการศึกษา |
|
|
2.เงินรายได้สถานศึกษา |
|
|
3.อื่นๆ |
|
|
รวม |
|
|
คงเหลือ |
|
|
การบรรลุตัวชี้วัด |
1.ผลสำเร็จตามตัวชี้วัดความสำเร็จ
ตัวชี้วัดความสำเร็จ |
ร้อยละของผลสำเร็จ |
เป้าหมาย |
ผลการดำเนิน |
1. |
|
|
2. |
|
|
3. |
|
|
4. |
|
|
2. สรุปผลสำเร็จของโครงการ
ผลสำเร็จของโครงการโดยรวม คิดเป็นร้อยละ ..................
ระดับความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการโดยรวม มีค่าเฉลี่ย ..................
อยู่ในระดับ ..................
เกณฑ์การสรุปผลค่าเฉลี่ยของระดับความพึงพอใจ
ค่าเฉลี่ย ......................... หมายถึง ระดับ ............
ค่าเฉลี่ย ......................... หมายถึง ระดับ ............
ค่าเฉลี่ย ......................... หมายถึง ระดับ ............
ค่าเฉลี่ย ......................... หมายถึง ระดับ ............
ค่าเฉลี่ย ......................... หมายถึง ระดับ ............ |
ความพึงพอใจ |
ตาราง 2 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม/แบบประเมิน
ข้อมูลทั่วไป |
จำนวน (คน) |
ร้อยละ |
1. เพศ
1.1 ชาย
1.2 หญิง |
23
22 |
2
3 |
รวม |
23 |
22 |
2. อายุ
2.1 น้อยกว่า 25 ปี
2.2 25-35 ปี
2.3 36-45 ปี
2.4 มากกว่า 45 ปี |
1
2
3
4 |
3
4
5
5 |
รวม |
23 |
34 |
จากตาราง 2 พบว่า ผู้เข้าร่วมโครงการ/กิจกรรม ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงมีจำนวน ............. คน (ร้อยละ …………….) อายุ 25-35 ปี มีจำนวน ............ คน (ร้อยละ .............) รองลงมา 36-45 ปี มีจำนวน ............ คน (ร้อยละ ...............) ฯลฯ ตอนที่ 3 ความพึงพอใจในของผู้เข้าร่วมโครงการ/กิจกรรม
รายการประเมิน |
|
S.D. |
ร้อยละ |
ระดับความพึงพอใจ |
1.
2.
3.
4.
5. |
|
|
|
|
รวม |
|
|
|
|
จากตาราง 3 พบว่า ผู้เข้าร่วมโครงการ/กิจกรรม มีความพึงพอใจในการจัดโครงการในภาพรวม อยู่ในระดับ ................ มีค่าคะแนนเฉลี่ย ................... (ร้อยละ ................) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านหรือราข้อ พบว่า ผู้เข้าร่วมโครงการ/กิจกรรม มีความพึงพอใจในด้าน ................................. หรือ ข้อคำถาม .................. ในระดับ ................ มีค่าคะแนนเฉลี่ย ................... (ร้อยละ ................) ฯลฯ |
ปัญหาและอุปสรรค |
|
ข้อเสนอแนะ |
|
รูปภาพประกอบ |
|