ชื่อโครงการ/กิจกรรม |
ศาสตร์พระราชาในโรงเรียน |
ประเภท |
โรงเรียนที่จัดกิจกรรมการเรียนรู้ฯ ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง |
ปีการศึกษา |
2561 |
มาตรฐาน |
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน
1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน 1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน
2.1 มีเป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกิจที่สถานศึกษากำหนดขัดเจน 2.3 ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาและทุกกลุ่มเป้าหมาย 2.5 จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ
|
ผู้รับผิดชอบ |
|
ความเป็นมา |
กระทรวงศึกษาธิการ มีเป้าหมายขยายการขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สู่สถานศึกษาทั่วประเทศ โรงเรียนเล็งเห็นความสำคัญของการพัฒนาให้โรงเรียนเป็นสถานศึกษาพอเพียงที่มีความเข้มแข็ง เป็นแหล่งเรียนรู้ โดยผู้บริหาร ครูและนักเรียนเข้าถึงแก่นสาระของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สามารถนำมาประยุกต์ใช้ในวิถีชีวิต เกิดจิตอาสา ครูผู้สอนได้จัดสร้างและพัฒนา หลักสูตรเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อชุมชน การดำเนินกิจกรรมการเรียนรู้ยึดหลักการตามแนวพระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียง เน้นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้นักเรียนฝึกปฏิบัติจริงเกิดผลดีต่อ ครู นักเรียนและชุมชน อีกทั้งครูผู้สอนในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ได้จัดกิจกรรมการเรียนการสอนสอดแทรกหลักการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและโรงเรียนได้จัดสร้างหลักสูตรสถานศึกษา โครงการ “ศาสตร์พระราชา” เป็นการดำเนินกิจกรรมในลักษณะผสมผสานทั้งการปลูกพืช การเลี้ยงสัตว์ การแปรรูปผลิตผลและพลังงานทดแทน โดยใช้หลักการบริหารจัดการพื้นที่จำกัดให้เกิดประโยชน์สูงสุด ซึ่งพื้นที่โครงการจะเป็นแหล่งเรียนรู้ ได้ฝึกปฏิบัติจริงอีกทั้งเกิดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ครูและนักเรียนสามารถจัดกิจกรรมการเรียนรู้บูรณาการแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ ซึ่งนอกจากกิจกรรมเกี่ยวกับเกษตรธรรมชาติที่ต้องเรียนรู้จากการปฏิบัติจริงแล้ว ครูผู้สอนต้องสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรม การรู้จักออม การมีภูมิคุ้มกันในชีวิต แก่นักเรียน และเป็นศูนย์การเรียนรู้ให้บริการความรู้และประสบการณ์แก่ชุมชนอย่างยั่งยืนต่อไป
|
วัตถุประสงค์ |
วัตถุประสงค์
1. เพื่อคณะครูและนักเรียน ได้ดำเนินการจัดการเรียนรู้ “ศาสตร์พระราชา” สามารถให้บริการแลกเปลี่ยนเรียนรู้แก่บุคคลผู้สนใจได้
2. เพื่อนักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนได้ร่วมแรงร่วมใจเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯรัชกาลที่ 9
|
เป้าหมาย |
1. เป้าหมายเชิงปริมาณ
1. โรงเรียนมีการจัดเรียนรู้ “ศาสตร์พระราชา” ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
2. โรงเรียนมีฐานการเรียนรู้ อย่างน้อยจำนวน 5 จุด
2. เป้าหมายเชิงคุณภาพ
1. ครูและนักเรียนโรงเรียนมีความรู้ความเข้าใจ ในหลักการปรัชญา สามารถจัดกิจกรรมการเรียนรู้บูรณาการแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้และน้อมนำหลักเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
2. ครู นักเรียน ชุมชนและผู้สนใจสามารถเข้ามาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ปรัชญา วิธีการ ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง จากการเรียนรู้ศาสตร์พระราชาได้ |
ระยะเวลา |
1 ต.ค. 3103 - 30 ก.ย. 3104 |
สถานที่ดำเนินการ |
โรงเรียนดอกคำใต้วิทยาคม |
ตัวชี้วัด |
การวัดและประเมินผลโครงการ
ที่
|
ตัวบ่งชี้ความสำเร็จของกิจกรรม |
วิธีการประเมิน |
เครื่องมือที่ใช้ประเมิน |
1 |
ครูผู้สอนทุกคนได้รับการอบรมพัฒนาเรื่องศาสตร์พระราชาเหมาะสมตามสมรรถนะกับการจัดการเรียนการสอน |
ประเมินจากผลการจัดการเรียนการสอน / ผลงาน |
แบบประเมินการปฏิบัติงาน |
2 |
ครูและนักเรียนมีเจตคติที่ดี และความตระหนักต่อศาสตร์พระราชา |
ประเมินจากผลการจัดการเรียนการสอน / ผลงาน |
แบบประเมินการปฏิบัติงาน |
3 |
นักเรียนทุกคนได้รับการส่งเสริมและพัฒนาตามศักยภาพตามหลักสูตรศาสตร์พระราชา |
ประเมินจากการพัฒนาตนเองในด้านอื่นๆ |
แบบประเมินการปฏิบัติงาน |
4 |
มีวัสดุ อุปกรณ์เพียงพอความต้องการ |
สอบถาม |
แบบสอบถาม |
5 |
ครูและนักเรียนมีความพึงพอใจในผลงานกิจกรรมศาสตร์พระราชา |
ประเมินความพึงพอใจ |
แบบประเมินความพึงพอใจ |
|
ผลที่คาดว่าจะได้รับ |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ/ตัวบ่งชี้ความสำเร็จของกิจกรรม
1. ครูผู้สอนร้อยละ 90 สามารถจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรสถานศึกษา
“ศาสตร์พระราชา”
2. นักเรียนร้อยละ 90 มีคุณลักษณะตามเป้าหมายด้านผู้เรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา “ศาสตร์พระราชา”
3. ครูและนักเรียนภาคภูมิใจในผลงาน
|
สรุปคะแนนประเมิน |
0.00 |
ไฟล์ประกอบ |
|
ขั้นเตรียมการ |
|
ขั้นดำเนินการ |
|
ขั้นตรวจสอบประเมินผล |
|
ขั้นสรุปและรายงาน |
|
งบประมาณ |
ตาราง 1 การใช้จ่ายงบประมาณ
รายการ |
งบประมาณที่กำหนดไว้ในแผน |
งบประมาณที่ใช้จ่ายจริง |
1.เงินอุดหนุนการศึกษา |
|
|
2.เงินรายได้สถานศึกษา |
|
|
3.อื่นๆ |
|
|
รวม |
|
|
คงเหลือ |
|
|
การบรรลุตัวชี้วัด |
1.ผลสำเร็จตามตัวชี้วัดความสำเร็จ
ตัวชี้วัดความสำเร็จ |
ร้อยละของผลสำเร็จ |
เป้าหมาย |
ผลการดำเนิน |
1. |
|
|
2. |
|
|
3. |
|
|
4. |
|
|
2. สรุปผลสำเร็จของโครงการ
ผลสำเร็จของโครงการโดยรวม คิดเป็นร้อยละ ..................
ระดับความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการโดยรวม มีค่าเฉลี่ย ..................
อยู่ในระดับ ..................
เกณฑ์การสรุปผลค่าเฉลี่ยของระดับความพึงพอใจ
ค่าเฉลี่ย ......................... หมายถึง ระดับ ............
ค่าเฉลี่ย ......................... หมายถึง ระดับ ............
ค่าเฉลี่ย ......................... หมายถึง ระดับ ............
ค่าเฉลี่ย ......................... หมายถึง ระดับ ............
ค่าเฉลี่ย ......................... หมายถึง ระดับ ............ |
ความพึงพอใจ |
ตาราง 2 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม/แบบประเมิน
ข้อมูลทั่วไป |
จำนวน (คน) |
ร้อยละ |
1. เพศ
1.1 ชาย
1.2 หญิง |
23
22 |
2
3 |
รวม |
23 |
22 |
2. อายุ
2.1 น้อยกว่า 25 ปี
2.2 25-35 ปี
2.3 36-45 ปี
2.4 มากกว่า 45 ปี |
1
2
3
4 |
3
4
5
5 |
รวม |
23 |
34 |
จากตาราง 2 พบว่า ผู้เข้าร่วมโครงการ/กิจกรรม ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงมีจำนวน ............. คน (ร้อยละ …………….) อายุ 25-35 ปี มีจำนวน ............ คน (ร้อยละ .............) รองลงมา 36-45 ปี มีจำนวน ............ คน (ร้อยละ ...............) ฯลฯ ตอนที่ 3 ความพึงพอใจในของผู้เข้าร่วมโครงการ/กิจกรรม
รายการประเมิน |
|
S.D. |
ร้อยละ |
ระดับความพึงพอใจ |
1.
2.
3.
4.
5. |
|
|
|
|
รวม |
|
|
|
|
จากตาราง 3 พบว่า ผู้เข้าร่วมโครงการ/กิจกรรม มีความพึงพอใจในการจัดโครงการในภาพรวม อยู่ในระดับ ................ มีค่าคะแนนเฉลี่ย ................... (ร้อยละ ................) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านหรือราข้อ พบว่า ผู้เข้าร่วมโครงการ/กิจกรรม มีความพึงพอใจในด้าน ................................. หรือ ข้อคำถาม .................. ในระดับ ................ มีค่าคะแนนเฉลี่ย ................... (ร้อยละ ................) ฯลฯ |
ปัญหาและอุปสรรค |
|
ข้อเสนอแนะ |
|
รูปภาพประกอบ |
|